การศึกษาดนตรีในศาสนพิธีของวัดแม่พระเมืองลูร์ด บางแสน
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214224คำสำคัญ:
ดนตรีในศาสนพิธี, ดนตรีในพิธีมิสซาวัดแม่พระเมืองลูร์ด บางแสนบทคัดย่อ
การวิจัยนี้ใช้หลักมานุษยดุริยางควิทยา ผู้วิจัยศึกษาเอกสารอ้างอิงต่าง ๆ ข้อมูลสัมภาษณ์ และ
สังเกตภาคสนามมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาบริบททางคริสต์ศาสนา
ของวัดแม่พระเมืองลูร์ด บางแสน 2) เพื่อศึกษาบทเพลงที่สาคัญในพิธีมิสซาใหญ่ในรอบปีของวัดแม่พระ
เมืองลูร์ด บางแสน โดยการบรรเลงบทเพลงศักดิ์สิทธิ์เพื่อขับร้องประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสริม
ความศรัทธาแด่พระเจ้าและการสร้างกิจกรรมทางศาสนาให้ดารงอยู่สืบต่อไป
ผลการศึกษาพบว่า 1) วัดแม่พระเมืองลูร์ด บางแสน จัดได้ว่าเป็นโบสถ์ที่มีชื่อเสียงของชุมชน
บางแสน ตาบลแสนสุข อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี เนื่องจากใกล้แหล่งสถานศึกษาและแหล่งท่องเที่ยว
จึงเป็นจุดเด่น ของวัดในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาจึงมีชาวคริสตังเป็นจานวนมากหลั่งไหลมา
เข้าร่วมนมัสการพิธีมิสซาใหญ่ในโอกาสงานสาคัญต่าง ๆ ที่ทางโบสถ์ได้จัดขึ้น ได้แก่ งานฉลองชุมชน
แห่งความเชื่อ งานวันอีสเตอร์หรือวันปัสกา วันคริสต์มาส 2) จากการศึกษาบทเพลงศักดิ์สิทธิ์ที่ใช้
ประกอบพิธีมิสซาพบว่า ผู้วิจัยได้เลือกบทเพลงศักดิ์สิทธิ์ที่นามาทาการวิเคราะห์มีทั้งสิ้น 14 เพลงรวม
ทั้งเพลงสวด ได้แก่ เพลงสดุดีพระสังฆราช, เพลงข้าแต่พระเจ้า 6, เพลงศักดิ์สิทธิ์แสนศักดิ์สิทธิ์,
พฤหัสศักดิ์สิทธิ์ (บทสร้อยสดุดี 89), ศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ (นมัสการกางเขน), เสาร์ศักดิ์สิทธิ์ (บทสร้อยสดุดี
42), อาทิตย์ใบลาน (บทสร้อยสดุดี 22), ไชโยแด่พระองค์, พระทรงบังเกิด, เพลงพักพิงในพระเจ้า, เพลง
O Holy Night, เพลงร้องอัลเลลูยา, เพลงเชิญร้องบรรเลง, และเพลงโอ้พระแม่ผู้แผ่เมตตา จากการวิเคราะห์
องค์ประกอบทางด้านดนตรี พบว่า รูปแบบการประพันธ์ส่วนใหญ่เป็นแบบ ประโยคเพลง (Phrase) ใน
บางบทเพลงมีแค่ประโยคเดียว หรือประโยคใหญ่ ที่ประกอบด้วย 2 ประโยคในลักษณะประโยคคาถาม -
ประโยคคาตอบ และรูปแบบอื่น เช่น รูปแบบไบนารี (Binary Form) เป็นลักษณะของเพลงที่มี 2 ท่อน
(Two Part Form) รูปแบบเป็นการถามและตอบซ้าไปมาอาจเป็นหลายเที่ยวก็ได้ เช่น A:B, AABB,
ABAB และรูปแบบเทอร์นารี (Ternary Form) เป็นลักษณะของเพลงที่มี 3 ตอน (Three Part Form)
เช่น ABA, ABÁ อัตราจังหวะที่พบในบทเพลงส่วนใหญ่คืออัตราจังหวะ 4/4 และ 2/2 ในลักษณะ
การดาเนินคอร์ด (Chord Progression) เป็นการดาเนินคอร์ดที่มีน้าหนักมากและจบแบบสมบูรณ์
ส่วนการเคลื่อนที่ของทานอง (Melodic Progression) เป็นการเคลื่อนที่แบบตามขั้นหรือการเรียงกัน
(Conjunct Progression) และการเคลื่อนที่ข้ามขั้นหรือการกระโดด (Disjunct Progression) การใช้
เสียงประสาน (Harmony) ในการขับร้องพบการประสานแบบ คู่ 3 เมเจอร์ และคู่ 5 เปอร์เฟค โดยจะ
พบในบทเพลงมีลักษณะโน้ตเป็น 4 แนว (Four Part Harmony) ส่วนด้านการร้องเอื้อน (Melismatic
Singing) พบว่าการเอื้อนนั้นขึ้นอยู่กับคาร้องการประพันธ์ของบทเพลงศักดิ์สิทธิ์นั้น ๆ รวมถึง
ความหมายของเพลงของบทเพลงศักดิ์สิทธิ์ (Meaning) ล้วนมีความหมายต่อพิธีกรรมทั้งสิ้นของแต่ละ
เทศกาล และแต่ละภาคของพิธีกรรมที่ทางวัดแม่พระเมืองลูร์ด บางแสนได้จัดขึ้น
References
Study of the Greatness of Roman
Catholic: Casestudy the Holy
Rosary Church Bangkok. Bangkok:
Graduate School Srinakharinwirot
University.
Laguer, V. the parsonage. (1996). The
history of the Catholic Church in
Thailand. Bangkok: mother a new
era.
Luang Wichitwathakan. (1967). National
Religions Vols1. Bangkok: Ausa
Printing.
Pantarangsi, S. (2003). Comparative
religion. ( 8th ed.). Bangkok:
Sukkapabjai.
Pongaudom, P. (2004). Trace the past:
175 years missionaries Protestant
in Thailand. Bangkok: Prachumtong
Printing.
Sithilertprasit, S. (2010). The Music in the
Sanctus of the Roman Catholic
Mass in the Archdiocese of
Bangkok, Thailand. Bangkok:
Graduate School Mahidol
University.
Socatiyanurak, N. (2004). Form and
Analysis (3rd ed.). Bangkok: the
publisher of Chulalongkorn
University.
The Board of Directors The Sacred music
in the ritual. (2008). Advice and
guidance in the sacred music in
the ritual. Bangkok: The Federation
of the chief priest of the Roman
Catholic Church of Thailand
(Department of Religious Affairs
Ministry of Culture.).
The Federation of the supreme patriarch
of the Catholic Church of Thailand.
(2000). Documents the house of
the supreme patriarch of the
Catholic Church of Thailand.
Bangkok: The Office of the
supreme patriarch of the Catholic
Church of Thailand.
The Royal Institute. (2005). Dictionary of
terms, religion, International
English - Thai version of the
Royal Institute (3rd ed.). Bangkok:
The Royal Institute.
Weravittayanan, T. (2013). The hymns
translated from English in Christ’s
Vision Church, Phitsanulok: the
meanings of the hymns and the
theological essences. Phitsanulok:
Graduate School Naresuan
University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว