การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาเพื่อการบริหารงานท้องถิ่น แบบมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตาบลหมื่นไวย อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

ผู้แต่ง

  • พรเศรษฐี วุฒิปัญญาอิสกุล

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214230

คำสำคัญ:

หลักการทางพระพุทธศาสนา, การบริหารงานท้องถิ่น, การมีส่วนร่วม, ตาบลหมื่นไวย, นครราชสีมา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการบริหารงานท้องถิ่นองค์การบริหาร
ส่วนตาบลหมื่นไวย และศึกษาการบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาเพื่อการบริหารงานท้องถิ่น
แบบมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตาบลหมื่นไวย อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ด้วยการวิจัย
แบบผสมผสานวิธี การวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถาม รวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนผู้
อาศัยในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลหมื่นไวย จานวน 375 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ และการวิจัย
เชิงคุณภาพ เลือกการสัมภาษณ์เชิงลึก และการประชุมเชิงปฏิบัติการกับพระสงฆ์ จานวน 2 รูป
กลุ่มผู้บริหารและเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตาบลหมื่นไวย ผู้นาชุมชน และประชาชน จานวน 16
คน พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ต่อการบริหารงานท้องถิ่น โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ย 3.14
อยู่ในระดับปานกลาง ทั้งนี้เพราะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
แต่สภาพสังคมที่เป็นสังคมเมือง ประชาชนต่างคนต่างให้ความสาคัญต่อประโยชน์เฉพาะหน้าของตน
และเข้าไปมีส่วนร่วมกับการบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในลักษณะการเลือกตั้งสมาชิก
องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นควบคู่กับการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการบริหารท้องถิ่นและการมีส่วนร่วม
ในผลประโยชน์ที่ใกล้ตัว และพบว่า การบูรณาการหลักการทางพุทธศาสนาเพื่อการบริหารงานท้องถิ่น
แบบมีส่วนร่วมฯ ควรมุ่งไปที่การปรับจิตใจและตัวตนของคณะผู้บริหารส่วนตาบลฯ โดยนาหลัก
การบริหารงานแบบมีส่วนร่วม เพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารงานท้องถิ่น ควบคู่กับ
การปฏิบัติตามหลักการทางพระพุทธศาสนา เพื่อการบริหารงานท้องถิ่นแบบมีส่วนร่วม ได้แก่ หลัก
อปริหานิยธรรม และหลักโอวาท 3

References

Borommanan, N. (1998). Public
Administration in French Administrative
Laws. Bangkok: Niti Tham Legal
Office.
Chitbanthao, W. (2008). ‘Participation of
Farmers in Irrigation Management in
Ayutthaya Province', Academic
Journal of Pathumthani University,
Volume 1, Issue 1 (December 2008
– May 2009): 29 – 30.
Chuea-am, W. (2010). Development of
Participation in Basic Education
Management by Local
Administrative Organizations in
Northeastern Region of Thailand.
Doctor of Philosophy Thesis,
Graduate School, Ramkhamhaeng
University.
Department of Local Administration.
(2003). Manual for Making of
Local Development and Strategic
Plans, 3 Years Plans and
Operational Plans and
Assessment. Bangkok: Thai
Cooperative Organization.
Department of Provincial Administration.
(2005). Roadmap to Strong
Community, Volume 1. Bangkok:
Department of Provincial
Administration.
Kaeochoterung, N. (2013). Forms and
Principles of Governance in
Tripitaka. Doctor of Buddhism
Thesis, Graduate School,
Mahachulalongkornrajavidyalai
University.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining
Sample Size for Research Activities.
Educational and Psychological
Measurement.
Muen Wai Sub-district Administrative
Organization. (2013). Three Year
Developmebt Plan (2013 – 2015).
Nakhon Ratchasima: Thai Rung Kit.
Office of the Permanent Secretary for
Interior, Office of Development and
Promotion for Provincial Administration.
(2003). Integrated Provincia
Governance: Set 3 Ways for Making
Integrated Provincial Development
Plans. Bangkok: Ministry of Interior.
Phengsakun, K. (2008). People’s
Participation in Water
Management: A Case Study of
Palian River Branch Basin, Trang
Province, Research Report, Ministry
of Natural Resources and
Environment.
Phra Panyaworawt Siriphattho. (2014).
ActingVice Drector of Office of
Nakhon Ratchasima Branch,
Interviewed on 12 March 2014.
Phra Tammapitok (P. Pyutto) (2003). Dictionary
for Buddhism (12th Edition).
Bangkok:
Mahachulalongkornrajavidyalai
University.
Phra Tammapitok (P. Pyutto). (1996).
Pilgrim for Merits – Pilgrim for
Dhamma (1st Edition). Bangkok:
Saha Thamik.
Sinthurawet, S. (1999). Moving towards
Quality Education. Bangkok:
Watthana Phanit.
Yungthong, K. (2012). People’s
Participation in the Making of
Development Plan for
Municipality of Na Ngua Subdistrict, Mueang District,
Phetchabun Province: A Case
Study of People’s Participation in
the Making of Development Plan
for Municipality of Na Ngua Subdistrict, Research Report, Faculty
of Humanities, Phetchabun
Rajabhat University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

วุฒิปัญญาอิสกุล พ. (2019). การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาเพื่อการบริหารงานท้องถิ่น แบบมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตาบลหมื่นไวย อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(2), 116. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214230