ความหมายและการดารงอยู่ของความเชื่อเรื่อง “ผีปอบ” ในบริบทสังคมไทย

ผู้แต่ง

  • ธนเดช ต่อศรี
  • อานาจ เย็นสบาย
  • วิรุณ ตั้งเจริญ
  • กิติมา สุรสนธิ

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214235

คำสำคัญ:

ผี, ผีปอบ, วัฒนธรรม, ความเชื่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา “ความหมาย” และ “การดารงอยู่” ของความเชื่อเรื่องผีปอบ
ในบริบทสังคมไทย
วิธีดาเนินการวิจัยผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ทาการศึกษา “ความหมาย” และ
“การดารงอยู่” ของความเชื่อเรื่องผีปอบในบริบทสังคมไทย ผู้วิจัยทาการเก็บข้อมูลภาคเอกสารและ
ภาคสนาม เพื่อรวบรวมองค์ความรู้จากพื้นที่ศึกษา จังหวัด คือ กาฬสินธุ์ สกลนคร มหาสารคาม และ
กรุงเทพมหานคร เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ด้วยวิธีการดังนี้ 1) การใช้แบบสอบถามกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลทั่วไป
ชาวกรุงเทพมหานคร 2) การใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับผู้เชี่ยวชาญเรื่องผีปอบ 3) การสัมภาษณ์กลุ่ม
กับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลเชื้อสายอีสานซึ่งมีบริบททางข้อมูลและพื้นที่แตกต่างกัน
ผลการวิจัยพบว่า สามารถแบ่งผีปอบออกเป็น 2 ประเภท คือ ปอบมนต์ และ ปอบเชื้อ และ
ความเชื่อเรื่อง “ผีปอบ” ดารงอยู่ด้วยการเล่าแบบปากต่อปาก ตามแต่ประสบการณ์ของแต่ละชุมชน
โดยมีชุดความรู้เรื่อง “กาเนิดและอานาจของผีปอบ” และ “พิธีกรรมการไล่ผีปอบ” ซึ่งเปรียบเสมือน
ส่วนประกอบสาคัญ ที่เข้ามาเสริม ในการดารงอยู่ของความเชื่อเรื่อง “ผีปอบ” ในบริบทสังคมไทย
ให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น

References

Angsri, T. (2014). in depth interview. Ceremony conductor 25 june.
Eoseewong, N. (1991). Buddhism and Black Magic. Art and Culture 12(4):106.
Group Interview Ban Koa patana.(2014). Kalasin, 25 june.
Group Interview Ban Na Saonan.(2014). Sakonnakorn, 12 june
Group Interview Ban Noan Pla Pha.(2014). Mahasarakham, 17 june
Group Interview Ban Ram Indra.(2014). Bangkok, 15 june.
Kaewthep ,K. and Hinvimarn, S. (2008). Current Theorists Political Economics and Educational Communications. Bangkok : Chulalongkorn University. Communication Arts P. 674-675.
Kaewthep, K. (2005). Communication and Mass Communication Theory of Substance and meaning in Philosophy Course Subjects (Unit No.12) Nonthaburi Sukothai Dhammathiraj University. Page 358
Khamkiew, V. (2007). “Black Magic is Supporter in Thai Society isn’t it?” Humanitie Journal Conspectus Year No. 29.
Nilarthi, S. (2014). in depth Interview,Local Academic, 11 june.
Nilarthi, S. (2015) Conclusion of Converse Subject “OGRE VILLAGE IN DIMENSION OF SOCIETY AND CULTURE BELIEVE” SEARCH ON 11 NOVEMBER 2015 http://SMC.ac.th/ intranet/sac.or.th/Subdetail/seminar/sum_of_seminar/seminar36html/.
Pra Kru Prasutham Sunthorn (2014). in depth Interview Ceremony Conductor. 11 june.
Prathibat, K. (2012). Search on 7 February 2555(2012)http://guru.google.co.th/thread?tid=23c4f7f2a8dd7d68.
Questionnaire Subject Believe in Pee Pob in Thai Context (2012), 10-20 may.
Williams, R. (1981). Culture. London: Fontant Press p. 154.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

ต่อศรี ธ., เย็นสบาย อ., ตั้งเจริญ ว., & สุรสนธิ ก. (2019). ความหมายและการดารงอยู่ของความเชื่อเรื่อง “ผีปอบ” ในบริบทสังคมไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(2), 152. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214235