แก้วผสานเครื่องปั้นดินเผา : รูปลักษณ์พึ่งพิงในงานศิลปะ

ผู้แต่ง

  • สุทธินี สุขกุล
  • ภรดี พันธุภากร
  • เสริมศักดิ์ นาคบัว

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214236

คำสำคัญ:

แก้วผสานเครื่องปั้นดินเผา, รูปลักษณ์พึ่งพิงงานศิลปะ

บทคัดย่อ

โครงการวิจัย แก้วผสานเครื่องปั้นดินเผา : รูปลักษณ์พึ่งพิงในงานศิลปะ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษา
รวบรวม วิเคราะห์ เทคนิคทางการตกแต่งเครื่องปั้นดินเผาและเทคนิคการสร้างงานแก้วทางศิลปะ 2) เพื่อหา
องค์ความรู้ในการพัฒนาเทคนิค วิธีการตกแต่งเครื่องปั้นดินเผาให้มีกระบวนการทางเทคนิคจาก
นวัตกรรมการผสานวัสดุที่มีมิติที่แตกต่าง และ 3) สังเคราะห์องค์ความรู้สู่การสร้างสรรค์ ผลงาน
ทัศนศิลป์ต้นแบบ จากการผสมผสานวัสดุเครื่องปั้นดินเผากับแก้ว แนวคิดการพึ่งพิง
วิธีดาเนินการวิจัย กาหนดพื้นที่ในการวิจัยครั้งนี้วิธีการเลือกแบบเจาะจง ( Purposive
Sampling) 2 กลุ่มใหญ่ คือ 1) กลุ่มเพื่อการวิจัยเชิงสังเกต (Observation Research) ศูนย์ศิลปาชีพ
ระหว่างประเทศ อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และกรมวิทยาศาสตร์บริการ กรุงเทพ และ
2) กลุ่มเพื่อการวิจัยเชิงสังเกต (Observation Research) แผนกเป่าแก้ว แผนกกระจกสี ศูนย์ศิลปาชีพ
บางไทร อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และโรงงานโลตัสคริสตัล จังหวัดระยอง ใช้แบบ
สังเกตในการเก็บข้อมูล การเลือกกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive
Sampling) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการผลิตแก้ว มีประสบการณ์ทางานเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์แก้ว จานวน 2
ท่าน และศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงานแก้ว จานวน 3 ท่าน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ และทา
การทดลอง
ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการหาอัตราส่วนผสมจากทฤษฏีเส้นตรง (Line Blend) ซึ่งเป็น
การแปรค่าอัตราส่วนผสมแบบ 2 ชนิด เพื่อให้เกิดเทคนิคเฉพาะที่จะนาไปใช้ในการสร้างสรรค์
ผลปรากฏว่าทฤษฏีเส้นตรง (Line Blend) ให้ผลการหลอมหลวมระหว่างแก้วกับเนื้อดินได้ดีจาก 2
เทคนิคคือ เทคนิคที่ 1 Mixing Materials in clay ผลที่ได้พบว่า จุดที่ใส่ปริมาณแก้ว B ตั้งแต่ร้อยละ 50
เนื้อดินขึ้นรูปได้ยาก และเทคนิคที่ 2 Mixing Materials ผลการทดลองพบว่า แก้วหลอมเป็นเนื้อ
เดียวกันที่อุณหภูมิ 1,050 องศาเซลเซียสทั้งวิธีที่ 1 และวิธีที่ 2 แต่วิธีที่ 2 เนื้อแก้วไม่สามารถไหล
กระจายตัวได้ทั่วแผ่นทดลอง จากการสร้างสรรค์ผลงานรูปลักษณ์พึ่งพิงการผสานวัสดุ ผ่านรูปแบบ
ปัจเจกลักษณ์ ทาให้สามารถสร้างจินตภาพสมมุติจากที่พึ่งพิงอาศัยของสิ่งมีชีวิตที่เกิดจากการนา
ส่วนประกอบเล็ก ๆ ทางธรรมชาติ ดิน เยื่อไม้ หญ้า มาทาเป็นโครงสร้างที่อยู่อาศัยที่มีความสลับซับซ้อน
เช่น แมลงจาพวกตัวต่อ มด ผึ้ง และปะการังได้เป็นอย่างดี

References

Amornwittawat, S. (2004). Product from
Cullet. Bangkok : Nation Research
Council of Thailand.
Dararat, P. & Sirikulrat, N. (2003).
Fabrication of Crystal Glass for
Art and Craft. Kasetsart University;
Nation Research Council of
Thailand.
Grose, Frederick and David. (1989). Early
Ancient Glass Core-formed, rodformed,
and cast vessels and
objects from the late Bronze age
to the Early Foman Empire, 1600
B.C. to A.D. 50rk. New York:
Hudson Hills Press.
Jongsomboon, J.(2007). Creation of color
glass. Nonthaburi: petchrung
printing Ltd.
Menash, H.K. (2009). Development of
the Art of Glassblowing in Ghana
: Prospects and Challenges of
Selected Glassblowing Units. A
thesis submitted to the school of
graduate studies, KNUST in partial
fulfillment of the requirements for
the award of the degree of Master
of Philosophy in African Art and
Culture Faculty of Fine Art, College
of Art and Social Sciences. Nation
Research Council of Thailand.
Nation Research Council of Thailand.
(2001) Research Project on
National Research Policy and
Strategy. Vol. 8 (2012-2016).
National Metal and Materials Technology
Center (2001). Introduction to
materials science. Bangkok:
National Science and Technology
Development Agency.
Phrompruek, T. (1980). Introduction to
ceramics. Bangkok : Odeanstore.
Pichayapibul, P. (1995). Technique for
pottery and creation. Bangkok:
Chulalongkorn University Press.
Reanrungrueng, P. (1995). History of
pottery. Bangkok
Rodcharoen, P. (2005). Study in
prehistoric glass found in central
and northeast of Thailand.
Bangkok: Silpakorn University.
Saengchan, W. T. (2008). Development
of aerated bricks from cullet.
Department of Science and
Service. P. 46-52 volume 176.
Satitpanawong, L. & Hamontri, C. (2009)
Study and development of
paper clay properties for use in
pottery products. Nation Research
Council of Thailand.
Sirikulrat, N. (2005). Seminar for art glass.
Sukkul, S. (2012). Introduction to
decorative technique for pottery.
Bangkok: O.S. printinghouse.
Zerwick C. (1990). A short History of
Glass. New York: The coming
Museum of Glass.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

สุขกุล ส., พันธุภากร ภ., & นาคบัว เ. (2019). แก้วผสานเครื่องปั้นดินเผา : รูปลักษณ์พึ่งพิงในงานศิลปะ. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(2), 168. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214236