ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเดินทางท่องเที่ยวท่องเที่ยวไนท์ มาร์เก็ต ของนักท่องเที่ยวชาวไทย กรณีศึกษา ตลาดนัดรถไฟรถไฟศรีนครินทร์
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214238คำสำคัญ:
พฤติกรรมกำรท่องเที่ยว, ส่วนประสมทำงกำรตลำด (7Ps), ตลำดนัดรถไฟศรีนครินทร์, กำรตลำดบทคัดย่อ
งำนวิจัยเรื่อง “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกำรเดินทำงท่องเที่ยวไนท์ มำร์เก็ต ของนักท่องเที่ยวชำวไทย
กรณีศึกษำ ตลำดนัดรถไฟศรีนครินทร์” นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำและเปรียบเทียบระดับควำมคิดเห็น
ของนักท่องเที่ยวชำวไทยต่อกำรเดินทำงท่องเที่ยวตลำดนัดรถไฟศรีนครินทร์ จำแนกตำมส่วนประสม
ทำงกำรตลำด จำแนกตำมลักษณะประชำกรศำสตร์ และจำแนกตำมพฤติกรรมนักท่องเที่ยวประชำกร
ตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรวิจัยครั้งนี้ คือ นักท่องเที่ยวชำวไทยที่เดินทำงท่องเที่ยว บริเวณศรีนครินทร์
กรุงเทพมหำนคร โดยมีขนำดกลุ่มตัวอย่ำงจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในกำรศึกษำทำงำนวิจัยครั้งนี้
เป็นแบบสอบถำม (Questionnaire) และวิเครำะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่ำร้อยละ ค่ำเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน
กำรวิเครำะห์ควำมแปรปรวนทำงเดียว ถ้ำพบแตกต่ำงรำยคู่ใช้วิธีกำรทดสอบรำยคู่โดยใช้สูตร (LSD) โดย
กำหนดระดับนัยสำคัญทำงสถิติที่ 0.05 ผลกำรวิจัยพบว่ำ นักท่องเที่ยวชำวไทยที่เดินทำงท่องเที่ยว
ตลำดนัดรถไฟศรีนครินทร์ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอำยุในช่วง 20 – 30 ปี ระดับกำรศึกษำปริญญำตรี
มีสถำนภำพโสด ส่วนใหญ่ประกอบอำชีพพนักงำนบริษัทเอกชน และมีรำยได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 –
20,000 บำท ด้ำนพฤติกรรมนักท่องเที่ยว พบว่ำ นักท่องเที่ยวชำวไทยส่วนใหญ่ เคยเดินทำงท่องเที่ยว
ตลำดนัดรถไฟศรีนครินทร์ มำกกว่ำ 2 ครั้งขึ้นไป โดยมีผู้ร่วมเดินทำงกับเพื่อน/เพื่อนร่วมงำน มีค่ำใช้จ่ำย
เฉลี่ยในกำรซื้อสินค้ำและบริกำรครั้งละ 500 – 1,000 บำท ส่วนใหญ่ข้อมูลที่มีผลต่อกำรตัดสินใจใน
กำรเดินทำงท่องเที่ยวมำจำก กลุ่มเพื่อน/บุคคลใกล้ชิด นักท่องเที่ยวชำวไทยมีระดับควำมคิดเห็นต่อ
ตลำดนัดรถไฟศรีนครินทร์จำแนกตำมส่วนประสมทำงกำรตลำด (7Ps) โดยรวมอยู่ “ระดับ มำก” โดย
เรียงลำดับคือ 1) ด้ำนผลิตภัณฑ์สูงที่สุด 2) ด้ำนช่องทำงกำรจัดจำหน่ำย3) ด้ำนบุคลำกร 4) ด้ำนรำคำ
5) ด้ำนส่งเสริมกำรตลำด 6) ด้ำนกระบวนกำร และอันดับสุดท้ำยคือ 7) ด้ำนลักษณะทำงกำยภำพ
นอกจำกนั้น ผลงำนวิจัยพบว่ำตลำดนัดรถไฟศรีนครินทร์นำเสนอสินค้ำในหลำยรูปแบบในรำคำที่
เหมำะสม สื่อสังคมทำงกำรตลำดเป็นเครื่องมือหลักที่สำคัญที่ใช้ในกำรเข้ำถึงลูกค้ำโดยง่ำยโดยลูกค้ำเป็น
ผู้เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับตลำด สื่อออนไลน์ เฟสบุ๊ค, อินสตำแกรม, ทวิตเตอร์ อย่ำงไรก็ตำมตลำดนัด
ศรีนครินทร์ควรจะพัฒนำด้ำนกำยภำพ เช่น สิ่งอำนวยควำมสะดวกที่ให้บริกำรในตลำด กำรคมนำคม
ขนส่ง และห้องน้ำสำธำรณะ ผลกำรวิจัยจำกกำรศึกษำนี้ผู้ประกอบกำรสำมำรถนำมำปฏิบัติและมำใช้กับ
ตลำดนัดกลำงวันและกลำงคืนอื่น ๆ ที่มีรูปแบบคล้ำยกับตลำดนัดรถไฟศรีนครินทร์ต่อไป
References
Marketing an Introduction. (3th
Ed.). Essex: Prentice – Hall.
Boonmeesrisnga, M. (2014). Tourism
Management in past decade.
Retrieved on 20th November 2015
from
http://www.info.ms.su.ac.th/KM$/T
ourismManagement.pdf.
Chateevisit, R. (2010). Consumer
Behaviour impact on decision
making for marketing activity.
Technology Promotion Association
(Thailand-Japan): Bangkok.
Chatthanasenee, P. (2003). Factors
influencing satisfaction of
consumers in the event
pedestrian streets in Chiangmai
Province. Master Thesis: Chiangmai
University.
Cochran, W.G. (1953). Planning and
Analysis of Observational
Studies. (2
nd Ed.). New York: John
Wiley & Sons, New York.
Hanna, N., & Wozniak, R. (2001).
Consumer Behaviour. An Applied
Approach. New Jersey: PrenticeHall.
Rukit, W. (2002). Exploring the factors
that consumers in Bangkok used
to purchase goods and services
at Chatuchak Market. Master
Thesis: Srinakharinwirot University.
Serirat, S., et al. (2003). New Age
Marketing Management. Bangkok:
TEERA film and site Teletext
Limited.
Siriumpai, V. (2010). Factors that
influence the purchasing
behavior of tourists Old Market
House, Sakae nest. (Street drug
Mills Lane) offense. Master's
Thesis, Rajamangala University of
Technology.
Thaveepongpat, T. (2013). Freedom Life.
Retrieved on December 2th, 2015.
from
http://www.wealthpublic.com.
Umwong, V. (2015). “10 Night Market” in
Thailand, most favorite place for
Thai shoppers. Retrieved on
October 12th, 2015 from
http://www.toptenthailand.com/to
pten/detail/20150122170410655.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว