การพัฒนาตำรับมาตรฐานข้าวเหนียวสังขยาจากกาพย์เห่ชมเครื่องคาว-หวานในสมัยรัตนโกสินทร์สู่การเป็นขนมไทยเพื่อสุขภาพ

ผู้แต่ง

  • นฤมล เปียซื่อ
  • ศศิธร ยะไชยศรี
  • ธิดารัตน์ แสนพรม

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v5i1.214244

คำสำคัญ:

การพัฒนาต้ารับมาตรฐาน, กาพย์เห่ชมเครื่องคาว-หวาน, ข้าวเหนียวสังขยาและขนมไทยเพื่อสุขภาพ

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้าวเหนียวสังขยาให้เป็นขนมไทยเพื่อสุขภาพ โดยการลดปริมาณน้้าตาลในข้าวเหนียวสังขยา จากการศึกษาต้ารับมาตรฐานของข้าวเหนียวสังขยา พบว่าต้ารับที่เหมาะสมในการน้ามาผลิตข้าวเหนียวสังขยาเพื่อสุขภาพ คือ ต้ารับที่ 2 มีส่วนผสมดังนี้ ข้าวเหนียวมูน ประกอบด้วย ข้าวเหนียว เขี้ยวงู 350 กรัม น้้ากะทิ 100 กรัม น้้าตาลทราย 150 กรัม และเกลือ 5 กรัม ส่วนหน้าสังขยาประกอบด้วย น้้ากะทิ 150 กรัม น้้าตาลโตนด 100 กรัม และไข่เป็ด 225 กรัม จากนั้นน้าต้ารับที่ได้มาลดปริมาณน้้าตาลที่ระดับร้อยละ 20 40 และ 60 ผลการทดลองพบว่า ปริมาณน้้าตาลร้อยละ 60 ผู้ทดสอบให้การยอมรับในปัจจัยทุกด้านมากกว่าร้อยละ 20 และ 40 เนื่องจากข้าวเหนียวมูนสังขยาที่มีการลดปริมาณน้้าตาลที่ร้อยละ 60 มีระดับความหวานใกล้เคียงกับข้าวเหนียวมูนสังขยาที่ผู้ทดสอบบริโภคอยู่ทั่วไปมากที่สุด จากการศึกษาปริมาณพลังงานของข้าวเหนียวสังขยาเปรียบเทียบกับข้าวเหนียวสังขยาจากต้ารับมาตรฐาน พบว่าข้าวเหนียวมูนสังขยาที่มีการลดปริมาณน้้าตาลเหลือร้อยละ 60 มีปริมาณพลังงานทั้งหมด และปริมาณพลังงานจากไขมัน เท่ากับ 205.76 และ 41.04 กิโลแคลอรี่ ส่วนข้าวเหนียวมูนสังขยาจากต้ารับมาตรฐานมีปริมาณพลังงานทั้งหมด และปริมาณพลังงานจากไขมัน เท่ากับ 219.48 และ 47.16 กิโลแคลอรี่ โดยการลดปริมาณน้้าตาล มีผลท้าให้พลังงานทั้งหมดและพลังงานจากไขมันที่ได้มีค่าลดลง

References

[1] A.O.A.C. 2005. Official methods of analysis of
AOAC international. 18thed AOAC
international, Gaithersburg, Maryland.
[2] กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข. 2555. แหล่งที่มา: http://www.anamai.moph.go.th/main.php?filename=index. 10 ตุลาคม 2555.
[3] เข็มทองนิ่มจินดา. 2531. ทฤษฎีอาหาร. กรุงเทพ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
[4] เครือวัลย์ศิริพงษ์. 2554. ขนมไทยเลิศรส.
กรุงเทพฯ: คลื่นอักษร.
[5] เติบชุมสาย. 2525. กับข้าวรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ:
อมรินทร์.
[6] นราวัลย์ กล่้าค้า. 2549. พฤติกรรมผู้บริโภคในการ
เลือกซื้อขนมไทย กรณีศึกษาร้านขนมไทยณิชยา.
สารนิพนธ์ บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิตมหาวิทยาลัย
เกริก.
[7] นันทยา จงใจเทศ, ปิยนันท์ อึ้งทรงธรรม, วารีทิพย์ พึ่งพันธ์ และวรรณชนก บุญชู 2552. ปริมาณหวาน มัน เค็มในขนมไทย. รายงานการศึกษาวิจัย. กลุ่มวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ, กองโภชนาการ.
[8] นิดา หงส์วิวัฒน์. 2553. เส้นทางขนมไทย. กรุงเทพมหานคร: แสงแดด.
[9] ล้าไพ บุญเรืองสี. 2550. ความพึงพอใจในการบริโภคขนมหวานไทยของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
[10] วันดี ณ สงขลา. 2555. ต้ารับอาหารสามแผ่นดิน.
กรุงเทพมหานคร: ส.เอเชียเพลส.
[11] วิไลลักษณ์ศรีสุระ. 2556. การพัฒนาขนมไทยเพื่อสุขภาพ
[12] (The model development of Thai desert for Health). (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://pnic.go.th/index.php. 10 ตุลาคม 2555.
[13] ศรีอมร คงพันธุ์. 2542. ขนมและน้้าผลไม้. กรุงเทพฯ: เอ.ที.พริ้นติ้งค์.
[14] สุภางค์ เรืองฉาย. 2549. ข้าวเหนียวมูนผสมธัญพืชและเสริมสมุนไพร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้า. ปีที่ 26ฉบับที่1
[15] อมราภรณ์ วงษ์ฟัก. 2548. หวาน มัน เค็ม กับข้าวเหนียวมูน สารพัดหน้า. กรุงเทพมหานคร: แม่บ้าน.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

เปียซื่อ น., ยะไชยศรี ศ., & แสนพรม ธ. (2019). การพัฒนาตำรับมาตรฐานข้าวเหนียวสังขยาจากกาพย์เห่ชมเครื่องคาว-หวานในสมัยรัตนโกสินทร์สู่การเป็นขนมไทยเพื่อสุขภาพ. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 5(1), 6. https://doi.org/10.53848/irdssru.v5i1.214244