การพัฒนารูปแบบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์สำหรับนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v5i1.214251คำสำคัญ:
รูปแบบการสอน, กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย, ทักษะการคิดวิเคราะห์บทคัดย่อ
การการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดยสร้างรูปแบบการสอนจากข้อมูลพื้นฐาน เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และผู้วิจัยได้นารูปแบบการสอนที่พัฒนาข้้นไปทดลองชช้กับนักเรียนระดับมัธยมศ้กษาชั้นปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศ้กษา 2554จานวน 37 คน ที่ได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ชช้ชนการวิจัยประกอบด้วย 1) รูปแบบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) แบบทดสอบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ 4) แบบทดสอบวัดความรู้ และ 5) แบบตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ชช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้า (Repeated - measures ANOVA) และการทดสอบค่าที (t-test)
ผลการวิจัยพบว่า
1. รูปแบบการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นเผชิญปัญหา 2) ขั้นพัฒนาความคิด 3) ขั้นระดมคิดกลุ่มย่อย 4) ขั้นอภิปรายกลุ่มชหญ่ 5) ขั้นสรุปและประเมินผล และ 6) ขั้นส่งเสริมชห้คงทนและถ่ายโอนการเรียนรู้
2. ผลการเปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์หลังเรียนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างกับเกณฑ์ที่กาหนดร้อยละ 80 พบว่าคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดคิดเป็นร้อยละ 94.95 ด้านการเปรียบเทียบคะแนนวัดพัฒนาการทางการเรียนรู้ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (P < .001) และมีความแตกต่างกันเป็นรายคู่ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ( P < .001) และทักษะการคิดวิเคราะห์หลังเรียนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง สูงกว่าก่อนชช้รูปแบบการสอน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
บรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ
พลอดุลเดช ชนพิธีพระราชทานปริญญาบัตรตั้งแต่พุทธศักราช 2493-2537. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
[2] จุฑามาศ เจริญธรรม. 2549. การจัดการเรียนรู้
กระบวนการคิด. นนทบุรี: สุรัตน์การพิมพ์
[3] สานักงานคณะกรรมการการศ้กษาแห่งชาติ.
2544. ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการ
คิด. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจากัด ไอเดีย สแควร์.
[4] กระทรวงศ้กษาธิการ. 2551. หลักสูตรแกนกลางการศ้กษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
[5] นิยดา น่วมไม้พุ่ม. (2552). 2549 ปีแห่งการ
ปฏิรูปการเรียนการสอน[ออนไลน์].เข้าถ้งเมื่อ 30
มีนาคม2552. เข้าถ้งได้จาก
htt://www.niyada.net/page.doc
[6] สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศ้กษา. 2547. มาตรฐานการศ้กษาและตัว
บ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกชนรอบแรก ระดับการศ้กษาขั้นพื้นฐาน ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2547. กรุงเทพฯ: บริษัทจุดทองจากัด.
[7] สานักงานคณะกรรมการการศ้กษาขั้นพื้นฐาน.
2552. ภาษาเพื่อพัฒนาการคิด: หนังสือเรียน
สาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ตามหลักสูตรการศ้กษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศ้กษาปีที่ 6. พิมพ์
ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สกสค. ลาดพร้าว.
[8] สานักงานเลขาธิการสภาการศ้กษา. 2552.
รายงานการสังเคราะห์สภาวการณ์และปัจจัยที่
ส่งผลต่อคุณภาพการศ้กษาไทย. กรุงเทพฯ: สกศ.
[9] ล้วน สายยศและอังคณา สายยศ. 2538. เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้.กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.
[10] Kirk, Roger E. 1995. Experimental Design: Procedures for the Behavioral Sciences. U.S.A.:Books/Cole Publishing Company.
[11] ประสิทธิ์ ศรเดช. 2553. การพัฒนารูปแบบการคิดวิเคราะห์สาหรับนักเรียนชั้นประถมศ้กษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน). พิษณุโลก: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
[12] ศรมีชัย จันทร์ทวงส์. 2553. การพัฒนารูปแบบการสอนอ่านอย่างมีวิจารณญาณด้วยกลวิธีการ เรียนภาษาโดยชช้หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศ้กษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
[13] ศิรินนภา นามมณี. 2551. การสร้างแบบวัด
ความสามารถชนการคิดวิเคราะห์ สาหรับ นักเรียนชั้นประถมศ้กษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศ้กษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศ้กษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
[14] สุธารพิงค์ โนนศรีชัย. 2550. การคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาของนักเรียนชั้นมัธยมศ้กษาปีที่ 5ที่ได้รับการสอบแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es). วิทยานิพนธ์ปริญญาการศ้กษาศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาหลักสูตรและการสอนบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
[15] ทิศนา แขมมณี. 2552. ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[16] กาญจนา จันทร์ประเสริฐ. 2555. การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบนาตนเองโดยชช้ปัญหาเป็นฐานชนการสอนวิชาฟิสิกส์วิทยาศาสตร์ชีวภาพ. วารสารศ้กษาศาสตร์. 23 (3), 163
[17] Krulik, S.& Rudnick, J.A.1993. Reasoning and problem solving: A handbook for elementary school teacher. Boston: Allyn & bacon.
[18] Bloom, B.S.1976. Human Characteristics and School Learning. New York: McGraw-Hi
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว