การวิเคราะห์งบการเงินของบริษัทในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม หมวดธุรกิจเหล็กในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระหว่างปี 2551-2555 : กรณีศึกษา บริษัท ไทย-เยอรมัน โปรดักส์ จำกัด (มหาชน)

ผู้แต่ง

  • ปุณยวีร์ ใจเดช

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v5i1.214261

คำสำคัญ:

วิเคราะห์งบการเงิน, เหล็ก, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฐานะทางการเงิน ผลการดาเนินงาน ตลอดจนราคาหุ้นของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม หมวดธุรกิจเหล็ก โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากงบการเงินรายปี ของบริษัท ไทย-เยอรมัน โปรดักส์ จากัด (มหาชน) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551-2555 มาวิเคราะห์ด้วยวิธีการย่อส่วนตามแนวดิ่ง การวิเคราะห์แนวโน้ม การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินเพื่อประเมินบริษัท, ราคาหุ้น ตลอดจนการคานวณมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ (EVA) เพื่อใช้ตัดสินใจลงทุนในหุ้น

ผลการศึกษาพบว่าจากปี พ.ศ. 2551-2553 บริษัทมีฐานะทางการเงิน ผลการดาเนินงาน อยู่ในภาวะขาดทุน สัดส่วนของสินทรัพย์อยู่ในระดับคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก แต่มีสัดส่วนหนี้สินเพิ่มขึ้น และส่วนของผู้ถือหุ้นลดลง อันเนื่องมาจากรายได้ที่ลดลง และต้นทุนที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้สภาพคล่องทางการเงิน ประสิทธิภาพการดาเนินงาน ความสามารถในการหากาไร นโยบายการเงินอยู่ในอัตราส่วนที่ไม่น่าพอใจ แต่ผู้บริหารมีความสามารถในการควบคุมค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหารได้ดี แนวโน้มความน่าลงทุนในหุ้นต่า ราคาหุ้นตก ซึ่งเกิดจากปัญหาเศรษฐกิจที่กระทบต่ออุตสาหกรรมเหล็ก แต่ในช่วงปี พ.ศ. 2554 – 2555 บริษัทเริ่มมีกาไร ส่งผลให้สภาพคล่องทางการเงิน ประสิทธิภาพการดาเนินงาน ความสามารถในการหากาไร นโยบายการเงินอยู่ในอัตราส่วนที่ดีขึ้นจากเดิม ราคาหุ้นสูงขึ้น เนื่องสภาพแวดล้อมของธุรกิจกาลังเติบโต แต่มูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ (EVA) ยังคงติดลบ ถึงแม้จะมีค่าติดลบที่ลดลงทุกๆ ปี มีแนวโน้มดีขึ้น แต่มูลค่าเพิ่ม เชิงเศรษฐศาสตร์ (EVA) ยังไม่เป็นบวก นักลงทุนจึงควรเพิ่มความระมัดระวังในการตัดสินใจลงทุนในหุ้นของบริษัท เนื่องจากการบริหารสินทรัพย์ที่ลงทุนไปยังไม่ก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

References

[1] คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. 2555 งบการเงินและแบบแสดงข้อมูลประจาปี 2550 - 2555 ของบริษัท ไทย-เยอรมันโปรดักส์ จากัด (มหาชน). ค้นเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2556, จาก https://www.sec.or.th/
[2] เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค์.2554. การวิเคราะห์รายงานทางการเงิน. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[3] เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค์. วิเคราะห์งบการเงินเพื่อศึกษาแนวโน้มการลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่
จดทะเบียนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย. 2549. กรุงเทพมหานคร. 13: 81-90.
[4] ณัฐวุฒิ ยอดจันทร์ และ ณัฐพร แสงกรชัยพัฒน์. 2547. รวยหุ้นด้วยงบการเงิน. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[5] ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 2555. แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัท ไทย-เยอรมัน โปรดักส์ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย. ค้นเมื่อ 7 มีนาคม 2556,จาก https://www.set.or.th/
[6] ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 2545. การวิเคราะห์หลักทรัพย์โดยใช้ปัจจัยพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: ส่วนสิ่งพิมพ์ ฝ่ายสื่อสารองค์กร ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
[7] ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 2555. ข้อมูลหลักทรัพย์ ของบริษัท ไทย-เยอรมันโปรดักส์ จากัด (มหาชน). ค้นเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2556, จาก https:// www.settrade.com/
[8] ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 2545. เทคนิคการวิเคราะห์งบการเงินบริษัทจดทะเบียน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ส่วนสิ่งพิมพ์ ฝ่ายสื่อสารองค์กร ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
[9] ธีรพัฒน์ เพชรช่วย. 2550. ความสัมพันธ์ของมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐศาสตร์ (EVA) กับอัตราผลตอบแทนของหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์: กรณีศึกษาของรัฐวิสาหกิจไทย. ปริญญานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (พณิชยศาสตร์และการบัญชี),จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[10] นิยม คาบุญทา. 2541. การวิเคราะห์เปรียบเทียบงบการเงินด้วยอัตราส่วนทางการเงินของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกลุ่มพัฒนาอสังหาริมทรัพย์. งานวิจัย, สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา.
[11] บริษัทหลักทรัพย์ เมย์แบงก์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน). 2556. ข้อมูลราคาหุ้นย้อนหลังปี 2550 - 2556 ของบริษัท ไทย-เยอรมันโปรดักส์ จากัด (มหาชน). ค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2556, จาก https://www.maybank-ke.co.th/
[12] ฝ่ายพัฒนาบริษัทจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.SET STOCK FOCUS: STEEL. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
[13] พรศิริ เจริญพงศ์. 2549. การวิเคราะห์งบการเงินเปรียบเทียบของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในอุตสาหกรรมเหมืองแร่. สารนิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
[14] เพชรี ขุมทรัพย์. 2554. การวิเคราะห์งบการเงิน หลักและการประยุกต์. พิมพ์ครั้งที่ 12.กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
[15] ภัทร ตั้งพานิชยานนท์. 2548. การวิเคราะห์สูตรคานวณมูลค่าการลงทุนโดยเทียบกับมูลค่าหุ้นของบริษัทมหาชนในอุตสาหกรรมไทย. ปริญญานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการ), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[16] รวิพรรณ คุณวรเวทย์. 2554. ความสัมพันธ์ระหว่างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐศาสตร์ (EVA) กับ อัตราผลตอบแทนของหุ้นสามัญในดัชนี SET100.ปริญญานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (พณิชยศาสตร์และการบัญชี), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[17] วรพรรณ ตระการศิรินนท์. 2548. ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทางการบัญชีกับความเสี่ยงจากการลงทุน ในหลักทรัพย์ของธุรกิจประเภทบริการ ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.ปริญญานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (พณิชยศาสตร์และการบัญชี), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[18] วรศักดิ์ ทุมมานนท์. 2548.มูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจ มิติใหม่ของการสร้างมูลค่ากิจการและการสร้างระบบผลตอบแทนพนักงาน. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ธรรมนิติ จากัด
[19] ศจี ศรีสัตตบุตร. 2548. ความสัมพันธ์ของอัตราส่วนทางการเงินกับผลตอบแทนของหุ้น ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. ปริญญานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (พณิชยศาสตร์และการบัญชี), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[20] ศุภชัย อัสววงศ์สันติ. 2548. ปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อดัชนีราคาหลักทรัพย์ ของกลุ่มธนาคารพาณิชย์ และกลุ่มพัฒนาอสังหาริมทรัพย์. สารนิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
[21] สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 2548. การวิเคราะห์งบการเงิน กลุ่มวิชาเครื่องมือเพื่อการวิเคราะห์การลงทุน.กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
[22] สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 2549. ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงิน. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
[23] สมศักดิ์ วิมาลา และ กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อดัชนีราคาหลักทรัพย์กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม หมวดธุรกิจเหล็กในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.วารสารการเงิน การลงทุน การตลาดและการบริหารธุรกิจ.2554.กรุงเทพมหานคร. 2: 119-142.
[24] เสาวลักษณ์ เศรษฐชาตนันท์. 2551. ความสัมพันธ์ระหว่างระดับการกากับดูแลกิจการ มูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจ (EVA) และอัตราส่วนทางการเงินของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกลุ่มพลังงานและสาธารณูปโภค. ปริญญานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (พณิชยศาสตร์และการบัญชี), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[25] อุษณี วรพันธ์พิทักษ์. 2549. ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสเงินสดและกาไรที่มีต่อราคาและผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. ปริญญานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (พณิชยศาสตร์และการบัญชี), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

ใจเดช ป. (2019). การวิเคราะห์งบการเงินของบริษัทในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม หมวดธุรกิจเหล็กในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระหว่างปี 2551-2555 : กรณีศึกษา บริษัท ไทย-เยอรมัน โปรดักส์ จำกัด (มหาชน). วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 5(1), 24. https://doi.org/10.53848/irdssru.v5i1.214261