ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับแบบภาวะผู้นาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1

ผู้แต่ง

  • ศักดินันท์ ศรีไพร

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v5i1.214293

คำสำคัญ:

ความฉลาดทางอารมณ์ แบบภาวะผู้นา โรงเรียนวิถีพุทธประถมศึกษา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธในสังกัสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรีเขต1 (2) แบบภาวะผู้นาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับแบบภาวะผู้นาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 ปีการศึกษา 2554 จานวน 80 คน จาแนกเป็น ผู้อานวยการโรงเรียน 68 คนและรองผู้อานวยการโรงเรียน 12 คน ซึ่งกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสาเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบวัดความฉลาดทางอารมณ์และแบบวัดภาวะผู้นา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98 และ .97 ตามลาดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสหสัมพันธ์แบบเพียร์สันผลการวิจัยพบว่า

(1) ผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1มีความฉลาดทางอารมณ์ในด้านการสร้างแรงจูงใจมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ด้านทักษะทางสังคม ด้านการกากับตนเองด้านการเอาใจเขามาใส่ใจเราและด้านการตระหนักรู้ตนเอง ตามลาดับ (2) ผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธมีแบบภาวะผู้นาแบบยึดหลักจริยธรรมมากที่สุด รองลงมาได้แก่ แบบผู้นาชุมชนด้านคุณธรรม แบบผู้นาทางการสอน แบบนักปฏิบัติ และแบบใช้ประโยชน์จากโอกาส ตามลาดับ และ (3) ความฉลาดทางอารมณ์กับแบบภาวะผู้นาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธมีความสัมพันธ์กันในทางบวกในระดับมากอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01

 

References

[1] คานึง แก้วอนันต์. 2550. “ความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของการพัฒนา
การจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 1”.
วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต
แขนงวิชาบริหารการศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
[2] ฉัตรฤดี สุขปลั่ง.2543. “ผลของบุคลิกภาพและเชาวน์ อารมณ์ที่มีต่อคุณภาพของการให้บริการตามการรับรู้ของหัวหน้างาน ของพนักงานส่วนหน้าของโรงแรมชั้นหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร”. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
[3] “พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542”.
2542, ราชกิจจานุเบกษาฉบับกฤษฎีกาเล่ม 116
ตอนที่ 74ก หน้า 3
[4] “ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและ
จรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548” (2548, 5
กันยายน) ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122ตอนพิเศษ
76 ง หน้า 39 - 46
[5] สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจันทบุรี เขต 1. 2552. รายงาน ผลการดาเนินงานตามโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ ประจาปีการศึกษา 2552.
[6] กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2548.
แนวทางการดาเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ
กรุงเทพมหานคร
สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
[7] เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. 2536. “ภาวะผู้นา”
ในประมวลสาระชุดวิชาทฤษฎีและแนวปฏิบัติ ในการ
บริหารการศึกษา หน่วยที่ 5 หน้า 1- 96. นนทบุรี.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บัณฑิตศึกษา
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์.
[8] เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. 2538. “ภาวะผู้นา”
ในประมวลสาระชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพมหาบัณฑิตบริหารการศึกษา หน่วยที่ 3 หน้า 73- 91. นนทบุรี.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บัณฑิตศึกษา
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์.
[9] อิสริยาภรณ์ ชัยกุหลาบ. 2553. “ความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 เขต 2 และเขต 3”. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.
[10] Benis,W.G. 1989. On Becoming a
Leader. Reading.M.A: Addisonweley
[11] Bottery,M. 2004. The Challenges of
Educational
Leadership.London: Paul Chapman.
[12] Goleman,D. 1998. Working with emotional
intelligence. New York: Bantam Books.
[13] Salovey,P. & Mayer J.D 1990. Emotional
intelligence. Imagination, Cognition and
Personality

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

ศรีไพร ศ. (2019). ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับแบบภาวะผู้นาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 5(1), 59. https://doi.org/10.53848/irdssru.v5i1.214293