แบบจำลองทำงคณิตศำสตร์ของออดิโอแกรมโดยระบบนอนรีครูซีฟ
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v5i1.214297คำสำคัญ:
ออดิโอแกรม, ตัวกรองเชิงเลขแบบเอฟไออาร์, เครื่องช่วยฟังบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ได้นาเสนอวิธีการออกแบบและสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ของกราฟออดิโอแกรมของผู้บกพร่องทางการได้ยินด้วยระบบไม่ต่อเนื่องทางเวลาแบบนอนรีครูซีฟ หรือตัวกรองเชิงเลขแบบเอฟไออาร์ซึ่งในการออกแบบและสร้างแบบจาลองได้นากราฟออดิโอแกรมของผู้บกพร่องทางการได้ยินมาทาการแปลงสเกลและนามาใช้คานวณหาฟังก์ชั่นถ่ายโอนของระบบนอนรีครูซีฟด้วยโปรแกรม MATLAB โดยในการทดลอง จะใช้ลาดับของระบบนอนรีครูซีฟเป็น 21, 41 และ 61 จากการทดลองพบว่าผลตอบสนองทางขนาดของระบบนอนรีครูซีฟตั้งแต่ลาดับที่ 21 มีผลการทางานใกล้เคียงกับกราฟออดิโอแกรม
และฟังก์ชั่นถ่ายโอนนี้จะถูกนาไปใช้เป็นพื้นฐานสาหรับออกแบบการสร้างตัวชดเชยให้ผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินต่อไป
References
Computer-Based Approach. 2nd ed. Boston
: McGraw-Hill, c2001.
[2] Oppenheim, A. V., Ronald and Schafer, W.
Discrete-Time Signal Processing. New Jersey:
Prentice Hall, c1999.
[3] Orfanidis, S. J. Introduction to Signal
Processing. New Jersey: Prentice Hall,
c1995.
[4] Proakis, J. G. and Manolakis, D. G. Digital
Signal Processing Principle. Algorithms, and
Applications. New Jersey: Prentice Hall,
c1996.
[5] Jongsataporn T., YimmanS., PraesomboonS.
andDejhan K. “MATHEMATICAL MODEL OF
AUDIOGRAM WITH SECOND ORDER
RECURSIVE SYSTEM” 4th Biomedical
Engineering International Conference
(BMEiCON- 2011).
[6] สุภาวดี ประคุณหังสิต. ตาราโสต ศอ นาสิกวิทยา.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร, คณะแพทยศาสตร์
โรงพยาบาลรามาธิบดี ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา;
2550.
[7] Kun-Shan Lin, “Digital Signal Processing
Applications with the TMS320C Family,
Volume 1”: Prentice-Hall and Texas
Instruments 1987.
[8] Lucio Di Jasio, “Programming 16-bit
Microcontrollers in C Learning to Fly the PIC
24”: ElsevierInc 2007.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว