บุพปัจจัยและความจงรักภักดีของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติต่อแหล่งท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานคร
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v5i1.214306คำสำคัญ:
บุพปัจจัย, ความจงรักภักดี, นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ, แหล่งท่องเที่ยว, กรุงเทพมหานครบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาอิทธิพลของความพึงพอใจ คุณค่าที่รับรู้ ความผูกพันต่อแหล่งท่องเที่ยว ความคุ้นเคยต่อแหล่งท่องเที่ยว การจูงใจปัจจัยผลัก การจูงใจปัจจัยดึง การแสวงหาความแปลกใหม่ที่มีต่อความจงรักกักดีต่อแหล่งท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 2. เปรียบเทียบความจงรักภักดีของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติต่อแหล่งท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครจาแนกตามเพศ ประเทศที่พัก ช่วงอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และสถานภาพการสมรส ของนักท่องเที่ยว 3. ศึกษาระดับของความพึงพอใจ คุณค่าที่รับรู้ ความผูกพันต่อแหล่งท่องเที่ยว ความคุ้นเคยต่อแหล่งท่องเที่ยวการจูงใจปัจจัยผลัก การจูงใจปัจจัยดึง การแสวงหาความแปลกใหม่ และความจงรักกักดีต่อแหล่งท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มาท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครในช่วงเดือน พฤษภาคม – สิงหาคม พ.ศ. 2553 จานวน 400 คน ดาเนินการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามแบบมาตรส่วนประมาณค่า5 ระดับ และเทคนิคการสัมภาษณ์เชิงลึก ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยโปรแกรม SPSS Version 16.0 และ โปรแกรม LISREL Version 8.72 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis)
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า 1.แบบจาลองสมการโครงสร้างของบุพปัจจัยที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมี ความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่า Chi- square = 3.43, df=4, P-value=0.48893 ; RMSEA=0.000 ; CFI = 1.00 ; CN = 1539.75 ; RMR = 0.0022 ; GFI = 1.00 และ AGFI = 0.98 โดยพบว่าตัวแปรบุพปัจจัยทั้งหมดสามารถร่วมกันพยากรณ์ความจงรักภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติได้ร้อยละ 73 และพบว่าตัวแปรบุพปัจจัยที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ได้แก่ ความพึงพอใจต่อแหล่งท่องเที่ยว คุณค่าที่รับรู้ ความผูกพันต่อแหล่งท่องเที่ยว ความคุ้นเคยต่อแหล่งท่องเที่ยว และการแสวงหาความแปลกใหม่ 2. นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มี เพศ ประเทศที่พานัก ช่วงอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และสถานภาพการสมรส แตกต่างกัน มีความจงรักภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครแตกต่างกันและ 3. นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมีความจงรักภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครด้านทัศนคติและ ด้านพฤติกรรมอยู่ในระดับมาก สาหรับตัวแปรบุพปัจจัยพบว่า ความพึงพอใจ คุณค่าที่รับรู้ ความคุ้นเคยต่อแหล่งท่องเที่ยว การจูงใจปัจจัยผลัก การจูงใจปัจจัยดึง และการแสวงหาความแปลกใหม่ อยู่ในระดับมาก สาหรับความผูกพันต่อแหล่งท่องเที่ยวอยู่ในระดับปานกลาง
References
[6] นุชนาถ คุณความดี (2551). ความพึงพอใจและความ จงรักภักดีของลูกค้าที่ใช้บริการเฮลท์แลนด์แอนด์มาส สาจ สาขาปิ่นเกล้า. สารนิพนธ์ บธ.ม (การจัดการ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ.
[7] ยุพดี เสตพรรณ (2543). ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: พิศิษฐ์การพิมพ์ [8] สุรีย์ บุญญานุพงศ์. (2539). ผลกระทบจากการ
ส่งเสริมการท่องเที่ยว: ศึกษากรณีจังหวัดแม่ฮ่องสอน. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. [9] วรารัตน์สันติวงษ์. (2549). ปัจจัยที่มีผลต่อความ จงรักภักดีของลูกค้าธนาคารต่อการใช้บริการ E- Banking. สารนิพนธ์บธ.ม. (การตลาด). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. [10] Aaker, D.A (1992). Strategic Market Management. New York: John Wiley and
Sons. [11] Anderson, E. W., Fornell, C.& Lehman, D.
R. (1994). Customer satisfaction. Market
share, and profitabilty: Findings from
Sweden, Journal of Marketing, 58, 53-66 [12] Bourdeau, L. B. (2005). A New Examination
of Service Loyalty: Identification of the Antecedents and Outcomes of Additional Loyalty Framework. Dissertation, Ph.D. (Business Administration). Florida: Florida University. Photocopied.
[13] Bruder, A. G. (1978). Role of visual
familiarity in the word-superiority effects
obtained with the simultaneous-matching
task. Jo urnal of Experimental Psychology:
Human Perception and Performance. 4 (1):
88-100. [14] Dick, Alan&KunalBasu. (1994). “Customer Loyalty: Toward an Integrated Conceptual Framework”. Journal of Academy of marketing Science. 22 (2), 99-113. [15] Elliott, J (1987). Government management
of tourism — a Thai case study. Tourism Management. 8 (3): 223-232. [16] Glen, T. H.&Philip, D (1998). Ecotourism versus tourism in a Thai national park.
Annals of Tourism Research. 25(3): 700-720. [17] Hauser, JR.; &Wernerfelt, B. (1990). The Competitive Implications of Relevant Set/Response Analysis. Journal of
Marketing Research. (26): 391-406. [18] Holsti, O. R. (1969). Content Analysis for
the Social Sciences and Humanities,
Addison-Wesley: Reading. [19] Jacoby, J.,& Chestnut, R. W. (1978). Brand loyalty: Measurement and management. John Wiley & Sons. [20] Jan-Benedict, E. M. &Steenkamp, H B.
(2002). Optimum stimulation level and
exploratory consumer behavior in an
emerging consumer market. International
Journal of Research in Marketing. 19 (2):
131-150.
[21] Jing, B. X.(2010). Perceptions of tourism products. Tourism Management. 31(5): 607- 610. [22] Kardes, F.R.(1993). Brand Retrieval, Consideration Set Composition, Consumer Choice and The Pioneering Advantage. Journal of Consumer Research. (20): 62-75.
[23] Kastenholz, E.,Carneiro, M.J.,Eusébio,C., (2006) Studyingvisitorloyaltytorural tourist destinations.In:Kozak,Andreu(Eds.),ProgressinTourismMarket-ing.Advancesin Tourism ResearchStudies.Elsevier,Oxford,Amsterdam,pp.239–253.
[24] Lee, Tae-Hee& John L. Crompton. (1992). “Measuring Novelty Seeking in Tourism,” Annals of Tourism Research. 19, 732-751.
[25] Martina G. G & Irene, G. S. (2006). Value dimensions, perceived value, satisfaction and loyalty: an investigation of university students’ travel behaviors. Tourism Management. 27 (1): 437–452
[26] Myung J., Namho, B &Choong-Ki, L (2011). The effect of perceived trust on electronic commerce: Shopping online for tourism products and services in South Korea. Tourism Management. 32 (11) 256–265
[27] Monica, H., Lena, L. M (1998). Tourism Motives and Loyalty .Annals of Tourism Research. 25( 3): 749-753.
[28] Myung-Ja, K., Namho, C &Choong-Ki, L. (2011). The effect of perceived trust on electronic commerce: Shopping online for tourism products and services in South Korea Tourism Management. 32 (2): 256-265.
[29] McDaniel, S. R & Mahan, J.E (2008). An examination of the ImpSS scale as a valid and reliable alternative to the SSS-V in optimum stimulation level research. Personality and Individual Differences. 44 (7): 1528-1538.
[30] Oliver, R. (1999). “Whence Consumer Loyalty,” Journal of Marketing. 63 (Special Issue), 33-44.
[31] Osman, M. K (2006). Customer complaints and organizational responses: the effects of complainants’ perceptions of justice on satisfaction and loyalty. International Journal of Hospitality Management. 25 (1): 69-90.
[32] Patterson, Paul G.;& Tony Ward. (2000). Relationship Marketing and Management. CA: Sage
[33] Reicheld, F. (1996). The Loyalty Effect: The Hidden Force Behind Growth, Profits and Lasting Value. Boston, MA: Harward Business School Press.
[34] Steers, R. M. (1997). Organization effectiveness: A behavioral view. California: Goodyear.
[35] Yooshik, Y., Dogan, G. & Joseph, S. C.(2001). Validating a tourism development theory with structural equation modeling. Tourism Management. 22 (4): 363-372.
[36] 247twenty–fourseven CityMagazine. (2551). กรุงเทพฯเมืองน่าอยู่ที่สุดในโลก. ออนไลน์ http://www.ohbar.com.au/main/view-content.php?id_content=202
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว