การออกแบบเครื่องประดับสตรีร่วมสมัยจากแรงบันดาลใจสาริดบ้านเชียง ด้วยเทคโนโลยีสามมิติ

ผู้แต่ง

  • นิติ นิมะลา
  • ธนสิทธิ์ จันทะรี

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i3%20SUP.214311

คำสำคัญ:

เครื่องประดับ, สาริดยุคก่อนประวัติศาสตร์บ้านเชียง เทคโนโลยีสามมิติ

บทคัดย่อ

การออกแบบเครื่องประดับสตรีร่วมสมัยจากแรงบันดาลใจสาริดบ้านเชียงด้วยเทคโนโลยี
สามมิติมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษารูปแบบลวดลายโบราณวัตถุเครื่องประดับสาริด ยุคก่อน
ประวัติศาสตร์อารยธรรมบ้านเชียง อาเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี 2) เพื่อออกแบบเครื่องประดับ
โลหะเงินสาหรับสตรี ในรูปแบบศิลปะร่วมสมัย โดยใช้แรงบันดาลใจจากรูปแบบลวดลายโบราณวัตถุ
เครื่องประดับสาริดอารยธรรมบ้านเชียง ด้วยเทคโนโลยีสามมิติ จานวน 1 คอลเลคชั่น ประกอบด้วย
แหวน สร้อยคอ กาไลหรือสร้อยข้อมือ และต่างหู 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจ ในชุดเครื่องประดับ
โลหะเงินสาหรับสตรี ในรูปแบบศิลปะร่วมสมัย โดยนาแนวความคิดและรูปแบบในการออกแบบ
เครื่องประดับโลหะเงินสาหรับสุภาพสตรี แรงบันดาลใจการออกแบบจากรูปแบบลวดลายกลุ่มลวดลาย
ธรรมชาติในโบราณวัตถุสาริดอารยธรรมบ้านเชียงด้วยเทคโนโลยีการออกแบบและผลิตสามมิติ โดย
ขั้นตอนการออกแบบใช้เทรนด์การออกแบบเครื่องประดับ ปี 2017 ในหัวข้อ Self-Art เครื่องประดับที่
สื่อความเป็นตัวตนสไตล์ชนเผ่าในรูปแบบลวดลายจากหมวดหมู่ธรรมชาติของสาริดอารยธรรมบ้านเชียง
ซึ่งแสดงออกถึงความอุดมสมบูรณ์ โดยใช้การออกแบบและผลิตเครื่องประดับด้วยเทคโนโลยีสามมิติ
สร้างตัวเรือนด้วยโลหะเงินลงยาผสมผสานความเป็นแฟชั่นกับลวดลายสาริดอารยธรรมบ้านเชียงกับ
เครื่องประดับเงินสตรีร่วมสมัยที่มีความโดดเด่นมีเอกลักษณ์ เพื่อสร้างความแตกต่างให้กับสินค้า
เครื่องประดับไทยในตลาดเสรีอาเซียน

References

Ban Chiang National Museum. (2012).
Historical Discovery. Poster.
Ban Chiang National Museum. (2012).
Historical Discovery. Poster.
Ban Chiang National Museum.(2005).
Bronze: Metal to Change the
World. Bangkok: Department of
Fine Arts.
Department of Industry Promotion.
(2007). Silver Product and
Accessories. Bangkok : n.d.
Office of Small and Medium Enterprise
Promotion. (2011) The Community
Enterprise Plan of Small and
Medium Enterprise. Bangkok
Phayao Khemnak. (1991). Pattern on Ban
Chiang Earthenware Surface.
Bangkok: Department of Fine Arts.
Serm Thammarongrat. (2012). Ban Chiang
Pattern. Ban Chiang Pattern
Learning Center.
Wattana Chvdhavipata. (2002). Accessory
Design. Bangkok: Chulalongkorn
University Press.
Wilapa Kasviset. (2010). The Pattern
Development for Design from
Ban Chiang Art Influence,
Silpakorn University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

นิมะลา น., & จันทะรี ธ. (2019). การออกแบบเครื่องประดับสตรีร่วมสมัยจากแรงบันดาลใจสาริดบ้านเชียง ด้วยเทคโนโลยีสามมิติ. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(3 SUP), 147. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i3 SUP.214311