ภาพแทนในทัศนะของเจ.ดี.แซลินเยอร์ต่อความเปลี่ยนแปลงในสังคมอเมริกันช่วงทศวรรษ 1940

ผู้แต่ง

  • Jessadaporn Achariyopas

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v5i1.214317

คำสำคัญ:

ภาพแทนการสร้างภาพแทนระบบของภาพแทนความจอมปลอมความแปลกแยกภาวะหดหู่ใจ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ตัวละครหลักในนวนิยายเรื่อง The Catcher in the Rye ด้านองค์ประกอบของความคิดและกลวิธีการเล่าเรื่องที่มีอิทธิพลต่อการสร้างภาพแทน และความสัมพันธ์ระหว่างภาพแทนกับความคิดของเจ.ดี. แซลินเยอร์ต่อความเปลี่ยนแปลงในสังคมอเมริกันช่วงทศวรรษ1940 กรอบแนวคิดที่ใช้ประกอบด้วยสองทฤษฎี ได้แก่ ทฤษฎีภาพแทน และทฤษฎีการเล่าเรื่อง นอกจากนี้การวิจัยยังมีเจตนาตอบคาถามสามประการ ประการแรกการผลิตความหมายผ่านภาษาในวรรณกรรมเรื่อง The Catcher in the Ryeถูกสร้างขึ้นอย่างไร ประการที่สอง ทัศนะของเจ.ดี.แซลินเยอร์ต่อความเปลี่ยนแปลงในสังคมอเมริกันช่วงทศวรรษ 1940 คืออะไร ประการสุดท้าย ความสัมพันธ์ระหว่างภาพแทนกับทัศนะของเจ.ดี. แซลินเยอร์เป็นอย่างไร

ผลการศึกษาพบว่าทัศนะของตัวละครหลัก ทัศนะของเจ.ดี. แซลินเยอร์ และความเปลี่ยนแปลงในสังคมอเมริกันช่วงทศวรรษ 1940 มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันโดยเด่นชัด การสร้างภาพแทนของตัวละครหลักถูกสร้างผ่านกลวิธีการเล่าเรื่อง ทัศนะของเจ.ดี. แซลินเยอร์ต่อความเปลี่ยนแปลงในสังคมอเมริกันช่วงทศวรรษ 1940 เป็นทัศนะเดียวกันกับทัศนะของตัวละครหลัก ได้แก่ ความจอมปลอม ความแปลกแยก และภาวะหดหู่ใจ

References

[1] Delaney, Denis, et al. Fields of Vision Literature in the English Language.2 vols. England. Pearson; 2003. p.35. [2] Halliwell, Martin. AmericanCulture in the 1950s. Edinburgh. EdinburghUniversity Press; 2007. p.175. [3] Levine, Paul, and Papasotiriou, Harry.AmericaSince 1945: The American Moment. [4] Great Britain. Palgrave Macmillan; 2005. pp.41, 42-43. [5] Morner, Kathleen, and Rausch, Ralph. NTC’s Dictionary of Literary Terms. New York. NTC PublishingGroup; 1991. pp.33-34. [6] Moss, J. and Wilson, G. The Catcher in the Rye by J. D. Salinger In Literature and Its Times: Profiles of 300 [7] Notable Literary Works and the Historical Events that Influenced Them Vol. 4: World War II to the Affluent Fifties (1940-1950s). Detroit. Gale; 1997. pp.73-78. [8] Prince, Gerald. Dictionary of Narratology. USA. University of Nebraska Press; 1989. pp. 72-73. [9] Rimmon-Kenan, Shlomith. Narrative Fiction. 2nd ed. London: Routledge; 2002. pp.59-60, 87-88.
[10] Salinger, J.D. The Catcher in the Rye. New York: Back Bay Book; 2001. p.3. [11] Steinle, Pamela Hunt. In Cold Fear: The Catcher in the Rye Censorship Controversies and PostwarAmericanCharacter. Columbus. OhioStateUniversity Press; 2000. p.3. [12] Hall, Stuart. Representation: Cultural Representations and Signifying Practices. London. SAGEPublications Ltd; 1997. p.16. [13] Dormann, S. The Catcher of Zero Existentialism in Contemporary U.S.- American Literature. (2011, February 7) Retrieved from http://othes.univie.ac.at/8077/1/2010-01- 12_9604310.pdf [14] Howe, A. Undressing J. D. Salinger: Fashion and Psychology in The Catcher in the Rye and“Teddy ”. (2011, January 22). Retrieved from http://www.georgiasouthern.edu/ etd/archive/spring2008/alicia_v_howe/ howe_alicia_v_200801_ma.pdf[15] French, Warren. The Catcher in the Rye and David Jerome Salinger. (2011, December 17) Retrieved from http://www.directessays.com /viewpaper/54215.html
[16] Iduncanoo. Why did the catcher in the rye have such and impact on Americans of the 20th century and today? (2011, December 12) Retrieved from <http://answers.yahoo.com/ question/index?qid=20080825171231AAqIThs >, p.1
[17] Litcharts. The Catcher in the Rye: Background Info. (2011 November 6)Retrieved from<http://www.litcharts.com/lit/ thecatcherintherye/backgroundinfo>, p.1
[18] Wikipedia. J.D. Salinger. (2011, November 11) Retrieved from <http://en.wikipedia.org/ wiki/J._D._Salinger>, p.4.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

Achariyopas, J. (2019). ภาพแทนในทัศนะของเจ.ดี.แซลินเยอร์ต่อความเปลี่ยนแปลงในสังคมอเมริกันช่วงทศวรรษ 1940. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 5(1), 110. https://doi.org/10.53848/irdssru.v5i1.214317