การศึกษาและออกแบบของเล่นเสริมพัฒนาการด้านภาษาจีนเบื้องต้นสาหรับเด็ก

ผู้แต่ง

  • ทรงวุฒิ เอกวุฒิวงศา
  • สมชาย เซะวิเศษ
  • ธีราฑัต เลิศช่าชองกุล
  • ดารณี ธนวัตร

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i3%20SUP.214322

คำสำคัญ:

ของเล่น, พัฒนาการ, ภาษาจีน, เบื้องต้น, การออกแบบ

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื อศึกษาลักษณะการเล่นของเล่นส่าหรับเด็ก 2) เพื อออกแบบของ
เล่นเสริมพัฒนาการทักษะภาษาจีนเบื้องต้นเรื องตัวเลขส่าหรับเด็กปฐมวัย 3)เพื อประเมินความพึงพอใจ
ของเล่นเสริมพัฒนาการด้านภาษาจีนเบื้องต้นส่าหรับเด็กปฐมวัย 4)เพื อเปรียบเทียบผลการเรียน ก่อน-หลัง
วิธีการวิจัยโดยใช้ประชากร คือ เด็กปฐมวัยที เรียนเสริมทักษะทางด้านภาษาจีนเบื้องต้น
จ่านวน 33 คน ในสถาบันสอนภาษาจีนพื้นที กรุงเทพฯ และกลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กปฐมวัยที เรียนส่งเสริม
ทักษะทางด้านภาษาจีนเบื้องต้น ในโรงเรียนภาษาจีน OKLS (กทม.) จ่านวน 30 คน โดยสุ่มตัวอย่าง
แบบเจาะจง (Purposive Sampling) ใช้แบบประเมินผลการเรียนรู้ ก่อน/หลัง ของเด็กปฐมวัยที มี
การเรียนส่งเสริมทักษะทางด้านภาษาจีนเบื้องต้น ต่อสื อการสอนประเภทของเล่นเสริมพัฒนาการที
พัฒนาใหม่ วิเคราะห์ค่าเฉลี ยเลขคณิตและส่วนเบี ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ t-test dependent
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิมีความพึงพอใจ ด้านเนื้อหาสาระอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.08
, S.D.=0.42) และด้านรูปแบบการสอนและสอดคล้องกับการเล่นอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.70,
S.D.=0.46) และการทดสอบระหว่างเรียนคะแนนเต็ม 30 คะแนน ได้คะแนนเฉลี ย 24.40 คะแนน
คิดเป็นร้อยละ 81.33 (E1) และผลการทดสอบผลสัมฤทธิ์หลังเรียนคะแนนเต็ม 30 คะแนน ได้คะแนน
เฉลี ย 25.13 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 83.78 (E2) พบว่าของเล่นเสริมพัฒนาการด้านภาษาจีนเบื้องต้น
(ตัวเลขและอักษรประกอบการเรียนรู้มีประสิทธิภาพ (E1:E2) เท่ากับ 81.33:83.78 ผ่านเกณฑ์ 80:80
สรุปได้ว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ด้านทักษะภาษาจีนเบื้องต้นที เกิดจากของเล่นเสริมพัฒนาการด้าน
ภาษาจีนเบื้องต้น(ตัวเลขและอักษร)ที พัฒนาใหม่ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส่าคัญทางสถิติที ระดับ .05
เป็นไปตามสมมุติฐานที ก่าหนดไว้

References

Arrayawinyoo, P. (1999). Inclusive
education for children with
special needs. Bangkok: Wankaew
printing limited partnership.
Chaichanavijit, A. (2014). Inside the box.
Bangkok : WeLearn Co., Ltd.
Egwutvongsa, S. (2016). Thinking for
develop industrial products.
Bangkok : Min service supply press
printing.
Juito, S. (2011). Innovation Management.
Bangkok : The Office of the
University Press, Sukhothaithammathirat.
Leekitwattana, P. (2015). Research
methodology in education.
Bangkok: Min service supply press
printing.
Mei, N. (2011). Mind Map Chinese.
Bangkok: Proud book shop Co., Ltd.
NopKet, R. (1993). General
Psychology. Bangkok: Color slide
club bangkok : Amarinprinting and
publishing public company limited.
Peter, S.(2006). Graphic Design. Bangkok :
Odeon Store.
Pinkoon, D. (2015). Creative marketing
for new marketing. Bangkok :
Amarin printing and publishing
public company limited.
Prasertsan, S. (2005). Imitation learning.
Bangkok : Amarinprinting and
publishing public company limited.
Sujeera, S. (2016). Create a Shortcut for
intelligent. Bangkok :
Amarinprinting and publishing
public company limited.
Suksod, T. (2001). Industrial Design.
Edition First Printing. Bangkok :
Odeon Store.
Tangcharoen, W. (1996). design. Bangkok :
Odeon Store.
Thaothong, S.(2016). Art academic
research to create a practical art.
Bangkok : Charansanitwong printing
Co.,Ltd.
Thirajit, V. (2004). Education for Children
with special needs. Bangkok :
Chulalongkorn University Press.
Vongsingthong, P. (2007). Research
Methodology in Product Design.
Bangkok : Chulalongkorn University
Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

เอกวุฒิวงศา ท., เซะวิเศษ ส., เลิศช่าชองกุล ธ., & ธนวัตร ด. (2019). การศึกษาและออกแบบของเล่นเสริมพัฒนาการด้านภาษาจีนเบื้องต้นสาหรับเด็ก. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(3 SUP), 158. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i3 SUP.214322