ยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะของกานัน ผู้ใหญ่บ้านเพื่อเป็นผู้นาในการพัฒนา

ผู้แต่ง

  • นภดล อมรเวช

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v5i1.214326

คำสำคัญ:

ยุทธศาสตร์การพัฒนา, การเพิ่มสมรรถนะภาวะผู้นาเพื่อการพัฒนา, กานัน, ผู้ใหญ่บ้าน

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยเรื่อง ยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน เพื่อเป็นผู้นาในการพัฒนา มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาสมรรถนะความเป็นผู้นาในการพัฒนาของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน 2)สร้างยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน เพื่อเป็นผู้นาในการพัฒนาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติหน้าที่ และ 3) ศึกษาผลของการใช้ยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน เพื่อเป็นผู้นาในการพัฒนา เป็นการวิจัยและพัฒนาใช้แผนแบบการทดลองเพื่อพิสูจน์สมมติฐานแบบการทดลองกึ่งจริง(Semi-experiment: Set-Experiment + Set-Treatment +No - Control)เป็นแบบ One Group Pre-test Post-test Design เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรม แบบทดสอบความรู้ แบบวัดสมรรถนะ แบบวัดเจตคติ และหลักสูตรการฝึกอบรม โดยใช้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นกานัน ผู้ใหญ่บ้าน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ให้ความคิดเห็นต่อสมรรถนะการใช้ภาวะผู้นาในการพัฒนา รวมทั้งสิ้น 308 คนและกานัน ผู้ใหญ่บ้าน กลุ่มทดลอง จานวน 40 คน รวมทั้งสิ้น จานวน 348 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติพื้นฐาน คือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าเฉลี่ย (X) และ ค่า T-test (Dependent) เพื่อวิเคราะห์ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นการบรรยายเชิงพรรณนาจากสภาพจริง

ผลการวิจัย พบว่า

1. ผลการศึกษาสมรรถนะความเป็นผู้นาในการพัฒนาของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน พบว่า มีสมรรถนะความเป็นผู้นาในการพัฒนาต่า ซึ่งมีสาเหตุ 4 ประการโดยเรียงลาดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ 1) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ (ร้อยละ 57.9) 2) สถานภาพของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน (ร้อยละ 20.1)3) ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน (ร้อยละ 18.8) และ 4) อื่น ๆ (ร้อยละ 3.2)

2. ผลการสร้างยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน เพื่อเป็นผู้นาในการพัฒนา พบว่ายุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะเพื่อเป็นผู้นาในการพัฒนา ประกอบด้วย 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) การพัฒนาความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ (2) การสร้างการเป็นผู้นาในการพัฒนา และ (3) การสร้างการรับรู้ด้านการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์ ทั้งนี้โดยมีองค์ประกอบของสมรรถนะหลักของความเป็นผู้นาเพื่อการพัฒนา 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการรับรู้ ด้านคุณลักษณะและพฤติกรรม ด้านทักษะ ด้านความคิดรวบยอด และด้านจิตวิญญาณ จากนั้นได้มีการตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญแล้วนาไปพัฒนาคู่มือและทดลองใช้โดยการฝึกอบรม

3. ผลของการใช้ยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน เพื่อเป็นผู้นาในการพัฒนาพบว่า กลุ่มทดลอง จานวน 40 คน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความเป็นผู้นาในการพัฒนา (X+S.D.) มีพฤติกรรมการใช้สมรรถนะความเป็นผู้นาในการพัฒนา (X+S.D.) และ มีเจตคติต่อพฤติกรรมความเป็นผู้นาเพื่อการพัฒนา (X+S.D.) หลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรม (48.65 + 4.40) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ P <0.001โดยมีสมรรถนะการใช้ภาวะผู้นา ดังนี้ 1) ด้านการรับรู้ (19.15 + 1.49) 2) ด้านการคุณลักษณะและพฤติกรรม (59.15 + 2.74) 3) ด้านทักษะ (48.15 + 3.54) 4) ด้านความคิดรวบยอด (35.90 + 3.86) และ 5) ด้านจิตวิญาณ (24.30 + 1.67)

ในการเพิ่มสมรรถนะเพื่อเป็นผู้นาการพัฒนาของกานัน ผู้ใหญ่บ้านมีปัจจัยแห่งความสาเร็จในครั้งนี้คือ เพิ่มสมรรถนะได้มากในกลุ่มที่มีความเป็นผู้นาโดยธรรมชาติ ส่วนกลุ่มจัดตั้งซึ่งจะมีความรู้สูงและมีทุนสูงจะเพิ่มสมรรถนะได้ในประเด็นที่เป็นองค์ความรู้ใหม่ที่ยังไม่เคยทราบมาก่อน และจะขาดความเป็นผู้นาทางธรรมชาติแต่ผลการวิจัยนี้ได้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันจึงเกิดการพัฒนา ทาให้กลุ่มผู้นาธรรมชาติเกิดความภาคภูมิใจและรักในหน้าที่มากขึ้นส่วนกลุ่มจัดตั้งมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปเป็นผู้นาท้องถิ่นระดับสูงต่อไป

References

[1] เฉลียว บุรีภักดี. เทคนิควิธีในการวิจัยและพัฒนา. นครสวรรค์. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์; 2550. [2] เฉลียว บุรีภักดี. ชุดการศึกษาค้นคว้ารายวิชา
2531101 รูปแบบความคิดหลากหลายในยุทธศาสตร์การ
พัฒนา. นครสวรรค์. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์;
2550. [3] เฉลียว บุรีภักดี. ชุดการศึกษาค้นคว้ารายวิชา 25421 สัมมนาการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนาในรูปแบบต่างๆ. เพชรบุรี. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี; 2550. [4] ธานินทร์ ศิลป์จารุ. การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทาง สถิติด้วย SPSS (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพ. บิส
ซิเนสอาร์แอนด์ดี; 2552. [5] บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ.
สุวี ริยาสาส์น; 2535. [6] วิทยาลัยการปกครอง. คู่มือวิทยากรแกนนา
จังหวัดในการพัฒนาศักยภาพกานัน ผู้ใหญ่บ้าน
ฯลฯ. กรุงเทพฯ.โรงพิมพ์อาสารักษาดินแดน กรมการ
ปกครอง กระทรวงมหาดไทย; 2551. [7] สมชาย เทพแสง และคณะ. ผู้นายุคใหม่ หัวใจการปฏิรูป. นนทบุรี. เกรท เอ็ดยูเคชั่น จากัด; 2549.
[8] สถาบันดารงราชานุภาพ.รายงานการวิจัย เรื่อง บทบาท
กานันผู้ใหญ่บ้านที่เหมาะสมในอนาคต. กรุงเทพฯ. บพิธ
การพิมพ์; 2541. [9] สรียา วิไลพงศ์. ความเปลี่ยนแปลงของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบับที่ 11)
พ.ศ.2551 กรณีศึกษา ในอาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่.มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2551.
[10] สุริยะ วิริยะสวัสดิ์. สถาบันกานัน ผู้ใหญ่บ้าน: อดีต ปัจจุบันและอนาคต. (ออนไลน์). แหล่งที่มา http://www.dopa.go.th/dopanew/doc /topiciad91.doc; (25 ตุลาคม 2553). [11] สุริยะ วิริยะสวัสดิ์. บทบาทกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ท่ามกลางสังคมไทยที่กาลังเปลี่ยนแปลงปัจจุบัน. (ออนไลน์).แหล่งที่มา http://www.dopa.go.th /dopanew/doc/topiciad91.doc; (25 ตุลาคม 2553). [12] สุริยะ วิริยะสวัสดิ์. ติดอาวุธความรู้ให้ผู้ใหญ่บ้านและ กานัน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา http://www.dopa.go.th/dopanew/doc /moi0306.doc; (25 ตุลาคม 2553). [13] ส่วนบริหารงานกานันผู้ใหญ่บ้าน. คู่มือเพิ่ม
ศักยภาพกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ ในการรักษาความ
สงบเรียบร้อย. กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์อาสารักษา
ดินแดน กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย; 2547. [14] ส่วนบริหารงานกานันผู้ใหญ่บ้าน.คู่มือปฏิบัติงาน
กานันผู้ใหญ่บ้าน. กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์อาสารักษา
ดินแดน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย; 2544. [15] ส่วนบริหารงานกานันผู้ใหญ่บ้าน. วารสาร
กานันผู้ใหญ่บ้าน. กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์อาสารักษา
ดินแดน กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย; 2550. [16] Boyatzis, R.E. The competent manager: A modelfor effective performance. New York. John Wiley&Son; 1982.
[17] Cooper, K.E.Effective competency modeling andreporting: A step-by-step guide for improving individual and organizational performance. New York. AMACOM; 2000 [18] Klemp, G.O.The assessment of occupationalcompetence. Washington,D.C. Report of theNational Institute of Education; 1980 [19] Mcclelland, D.C. Testing for competence rather than for intelligence American psychologist; 1973. [20] Spencer,Jr., L.M.,&Spencer, S.M.Competence atwork: Models for superior. New York. John Wiley &Son; 1993. [21] Winterton, J., &Winterton, R. Developingmanagerial competence. London. Routledge; 1999.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

อมรเวช น. (2019). ยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะของกานัน ผู้ใหญ่บ้านเพื่อเป็นผู้นาในการพัฒนา. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 5(1), 148. https://doi.org/10.53848/irdssru.v5i1.214326