อิทธิพลของการสนับสนุนจากหัวหน้างานและคุณลักษณะของการแข่งขันผ่านการรับรู้ความสามารถของตนเองและความพยายามที่มีต่อความพึงพอใจในงาน และผลการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาเอกชนของประเทศไทย
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v5i1.214335คำสำคัญ:
การสนับสนุนจากหัวหน้างาน คุณลักษณะของการแข่งขันการรับรู้ความสามารถของตนเอง ความพยายาม ความพึงพอใจในงาน และผลการปฏิบัติงานบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในงาน และผลการปฏิบัติงานของครูที่มีภูมิหลังต่างกัน2)เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความพึงพอใจในงานและผลการปฏิบัติงานของครู และ 3)เพื่อศึกษาขนาดของอิทธิพลของการสนับสนุนจากหัวหน้างาน คุณลักษณะของการแข่งขันการรับรู้ความสามารถของตนเองและความพยายามที่มีต่อความพึงพอใจในงานและผลการปฏิบัติงานของครูทั้้งอิทธิพลทางตรงและอิทธิพลทางอ้อมกลุ่มตัวอย่าง คือ ครูประจาการในสถานศึกษาเอกชนจานวน 1,000 คนได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการตรวจสอบความตรงของโมเดลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1)กลุ่มตัวอย่างที่มีภูมิหลังต่างกันมีความพึงพอใจในงานแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่มีผลการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) การตรวจสอบความตรงของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความพึงพอใจในงานและผลการปฏิบัติงาน พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ 2 = 98.877, df = 78 ,p = .055, GFI= .985, AGFI = .977, RMR = .032) ตัวแปรในโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุอธิบายความแปรปรวนในความพึงพอใจในงานและผลการปฏิบัติงานได้ร้อยละ59.0 และ 69.4 ตามลาดับ และ 3) การสนับสนุนจากหัวหน้างานมีอิทธิพลบวกทางตรงสูงสุดต่อความพึงพอใจในงาน(ขนาดอิทธิพลทางตรง = .621**) ในขณะที่การรับรู้ความสามารถของตนเองมีอิทธิพลบวกทางตรงสูงสุดต่อผลการปฏิบัติงาน (ขนาดอิทธิพลทางตรง =.554**) นอกจากนี้คุณลักษณะของการแข่งขันมีอิทธิพลบวกทางอ้อมสูงสุดต่อผลการปฏิบัติงาน (ขนาดอิทธิพลทางอ้อม = .371**)
References
นโยบายของคณะรัฐมนตรีนายอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภาวันจันทร์ที่ 29 ธันวาคม
2551. กรุงเทพมหานคร: สานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรี.
[2] สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน.
2554. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริการ.
[Accessed on June 20, 2011] Available from :http://www.opec.go.th
[3] สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2553. สภาวะ
การศึกษาไทยปี 2551/2552 บทบาทการศึกษากับ
การพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม.
กรุงเทพมหานคร: วี.ที. ซีคอมมิวเคชั่น.
[4] Gibson, J. A., Grey, I. M. and Hastings, R. P.
2009. Supervisor support as a predictor of
Burnout and Therapeutic Self-Efficacy in
Therapists Working in ABA School. Journal
Autism Dev Disord39: 1024-1030.
[5] Karatepe, O. M. and Olugbade, O. A. 2009.
The effects of job and personal resources on
hotel employees’ work engagement.
International Journal of Hospitality
Management 28: 504-512.
[6] บดี ตรีสุคนธ์.2553. 8 ประการที่หัวหน้าควรทาและ
ไม่ควรทา. [Accessed on February 10, 2011]
Available from: http://www.sbdc.co.th
[7] Karatepe, O. M., Uludag, O., Menevis, I.,
Hadzimehmedagic, L. and Badder,L. 2006.
The Effect of selected individual
characteristics on frontline employee
performance and Job satisfaction. Tourism
Management 27: 547-560.
[8] ภานุวัฒน์ เบ็ญเราะมาน. 2552. โอกาสและการ
เติบโตในภาวะเศรษฐกิจขาลง. กรุงเทพธุรกิจ 17
กันยายาน 2552
[9] Griffin, M. A., Patterson, M. G. and West,
M. A. 2001. Job satisfaction and teamwork:
the role of supervisor support. Journal of
Organizational Behavior 22: 537-550.
[10] Joreskog,K. G. and Saban, D. 1996. LISREL 8:
User’s Reference Guide. IL: Scientific
Software International, Inc.
[11] คุรุสภา. 2555. จรรยาบรรณครู. [Accessed on March 1, 2013] Available from: http://www.ksp.or.th/ksp2009/
[12] ไตรธรเศรษฐีธร. 2543. การศึกษาความพึงพอใจใน การปฏิบัติงานของโรงเรียนเอกชนระดับ
ประถมศึกษา เขตการศึกษา 6.
ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา
คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[13] จุฬามาศเฉย่อง. 2544. การศึกษาการจัดสวัสดิการ
แก่ครูของโรงเรียนเอกชน.
ปริญญาศึกษาศาสมหาบัณฑิต
สาขาการศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คณะ
ศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
[14] ผาสุกสุมามาลย์กุล. 2550. การศึกษาปัจจัยที่ส่งผล
ต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียน
เอกชน กรุงเทพมหานคร.
ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา
บริหารการศึกษาคณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[15] Kerlinger, F. N. and Lee, H. B. 2000.
Foundations of behavioral research.4th ed. Holt, New York: Harcourt College.
[16] Chang, S. C. and Lee, M. S. 2007. A study
on relationship among leadership,
organizational culture, the operation of
learning organization and employees' job
satisfaction. The Learning Organization 14
(2): 155-185.
[17] Peltier, J. W., Schibrowsky, J. A. and Nill, A.
2012. A Hierarchical Model of the Internal
Relationship Marketing Approach to Nurse
Satisfaction and Loyalty.European Journal of
Marketing 47 (5) (Date online 17/6/2012).
[18] Crow, M. S., Lee, C,B. and Joo, J. J. 2012.
Organizational justice and organizational
commitment among South Korean police
officers: An investigation of job satisfaction
as a mediator. Policing: An International
Journal of Police Strategies & Management
35 (2) : 402-423.
[19] Bamber,E. M., Iyer, V. 2009. The effect of
auditing firms' tone at the top on
auditors'job autonomy, organizational-
professional conflict, and job satisfaction.
International Journal of Accounting and
Information Management 17 (2) : 136-150.
[20] Leach-Lopez, M. A., Stammerjohan, W. W.
and McNair, F. M. 2008. Effects of
budgetaryparticipation conflict on job
performance of Mexican and US managers.
Advances in Accounting, incorporating
Advances in International Accounting 24:
49-54.
[21] Wang, G. and Netemeyer, R. G. 2002. The
Effects of Job Autonomy, Customer
Demandingness, and Trait Competitiveness
on Salesperson Learning, Self-Efficacy, and Performance. Journal of the Academy of Marketing Science Summer 30 (3): 217-228.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว