อิทธิพลภาวะผู้นาแบบแบ่งปันของผู้บริหารสถานศึกษาที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของครูสถานศึกษาเอกชนขั้นพื้นฐานในกรุงเทพมหานคร ผ่านตัวแปรความขัดแย้งในบทบาท ความคลุมเครือในบทบาท และความพึงพอใจในงาน
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v5i1.214338คำสำคัญ:
ภาวะผู้นาแบบแบ่งปัน ความขัดแย้งในบทบาท ความคลุมเครือในบทบาท ความพึงพอใจในงาน ผลการปฎิบัติงานบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างภาวะผู้นาแบบแบ่งปันกับผลการปฎิบัติงาน 2) ศึกษาอิทธิพลของภาวะผู้นาแบบแบ่งปัน ผ่านความขัดแย้งในบทบาท ความคลุมเครือในบทบาท และความพึงพอใจในงาน ที่มีต่อผลการปฎิบัติงาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูสถานศึกษาเอกชนขั้นพื้นฐานได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ในกรุงเทพมหานคร จานวน 720 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุระหว่างภาวะผู้นาแบบแบ่งปันกับผลการปฎิบัติงานด้วยการวิเคราะห์เชิงยืนยัน
ผลการวิจัย สรุปได้ว่า 1) การตรวจสอบความตรงของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างภาวะผู้นาแบบแบ่งปันกับผลการปฎิบัติงาน มีความสอดคล้องเข้ากับข้อมูลเชิงประจักษ์ (ค่าไค-สแควร์ = 280.41 ;องศาอิสระ = 245, p = .059 GFI = .968 AGFI = .961 และ RMR =.038) ตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนในผลการปฎิบัติงานได้ร้อยละ 73.0 และ 2) ตัวแปรภาวะผู้นาแบบแบ่งปัน ตัวแปรความขัดแย้งในบทบาท และตัวแปรความคลุมเครือในบทบาท มีอิทธิพลทางอ้อมต่อตัวแปรผลการปฎิบัติงาน โดยที่ตัวแปรภาวะผู้นาแบบแบ่งปันมีระดับเกิดขึ้นมากที่สุด นอกจากนี้ตัวแปรความพึงพอใจในงานมีอิทธิพลบวกต่อระดับผลการปฎิบัติงานสูงสุด ซึ่งหมายความว่า การที่จะทาให้ครูมีผลการปฎิบัติงานที่สูงขึ้นได้นั้น ผู้บริหารต้องใช้ภาวะผู้นาแบบแบ่งปันในการบริหารงาน เพื่อช่วยลดความขัดแย้งในบทบาท ความคลุมเครือในบทบาท และเป็นการเพิ่มความพึงพอใจในงานของครูซึ่งส่งผลให้การปฎิบัติงานของครูสูงขึ้นตามไปด้วย
References
บุคลิกภาพ และภาวะผู้นาที่ส่งผลต่อความพึงพอใจใน
การทางานของผู้ใต้บังคับบัญชา และผลการงานของ
หัวหน้างานระดับกลางในองค์กรธุรกิจ. วารสารรัฐ
ประศาสนศาสตร์, (2545). 3(4), 77-111.
[2] ศุภลักษณ์ เศรธะพานิช. การพัฒนาระบบการบริหาร
ที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศของสถานศึกษาเอกชน.
วิทยานิพนธ์ ปริญญาคุรุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต
สาขาบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
(2550).
[3] สานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา
เอกชน. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาเอกชน
(พ.ศ.2553-2555).
กรุงเทพมหานคร: สานักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.
(2552).
[4] อัญชลี ไสยวรรณ. (2554). การอบรมการเตรียมรับ
การประเมินภายนอก. กรุงเทพมหานคร.
[5] Anton, C. The impact of roles stress on
workers behavior through job satisfaction
and organizational commitment. Journal of
Psychology, 2009. 44(3) 187-194
[6] Balthazard, P., Waldman, D., Howell, J. &
Atwater, L. Shared Leadership And Group
Interaction Styles In Problem-Solving Virtual
Team. Journal. of System Science, doi:
10.1.1.108.5584 (2004).
[7] Gaither, C. A., Kahaleh A. A., Doucette, W. R., ,
David A. Mott., Pederson, C. A. & Schommer
J.C. A Modified model of pharmacists job
stress: The role of organization, extra-role,
and individual factors on work-related
outcome. Social and Administrative
Pharmacy (2008), 4: 231-243.
[8] Hanif, R. Teacher Stress, Job Performance
and Self Efficacy of Woman School. Degree
of Philosophy in Psychology, National
Institute of Psychology Centre of Excellence
Quaid-i-A University, Islamabad. (2004).
[9] Hiller, N. J. Understanding and Measuring
Shared Leadership in Work Teams. M.S.
Psychology in Industrial-Organizational
Psychology 2001. The Pennsylvania State
University. (2002). [10] Kim, B. P., Murrmann, S. K. & Lee, G.
Moderating effects of gender and
Organizational level between ole stress and
job satisfaction among hotel employees.
Hospitality Management, (2009). 28: 612-619.
[11] Leach-Lopez, M. A., Stammerjohan,W. W.
&McNair, F.M. The Effects of budgetary
participation conflict on job performance
of Mexican and US managers. Journal of
Advances in Accounting, (2008). 24, 49-64. [12] Lui, S.S., Ngo, H.Y., Tsang, A.W.N. Interrole
conflict as a predictor of job satisfaction and
propensity to leave: A study of professional
accountants. Journal of Managerial
Psychology, (2001). 16: 469-484. [13] Ouyang, Y. The Mediating Effects of Job
Stress and Involvement Under Job
Instability: Banking Service Personnel of
Taiwan as an Exampled. Journal of Money,
Investment and Banking, [Accessed on
September 16, 2009] Retrieved, from. [14] Robbins, S.P. Organizational Behavior. 10th
ed. Upper Saddle River, New Jersey:
Prentice-Hall. (2003). [15] Robbins, S. P. & Coulter, M. Management. 8th
ed. Upper Saddle River, New Jersey:
Prentice -Hall, Inc. (2005).
[16] Wood, M. S. & Field, D. Exploring the impact
of shared leadership on management
teammember job outcomes. Baltic Journal
of Management. (2007). 3: 251-272.
[18] Yide, S. A meta-Analysis of Role Ambiguity
and Role Conflict on IS Professional Job
Satisfaction. Proceedings of the 38th Hawaii
international conference on system
sciences-2005. (2005). 8: 2
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว