สวัสดิการของแรงงานระดับหน่วยผลิตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลาพูน

ผู้แต่ง

  • วสันติ์ คำบุรี

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i2.214365

คำสำคัญ:

แรงงาน, สวัสดิการแรงงาน, นิคม อุตสาหกรรมภาคเหนือ, ลาพูน

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
สวัสดิการแรงงานนอกเหนือจากที่กฎหมายกาหนด
ตลอดจนความพึงพอใจในสวัสดิการของแรงงานระดับ
หน่วยผลิตในภาคอุตสาหกรรมนิคมอุตสาหกรรม
ภาคเหนือ จังหวัดลาพูน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา
คือ แรงงานระดับหน่วยผลิต จานวน 400 ราย โดยใช้
แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษา การวิเคราะห์
ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา การให้น้าหนักความพอใจ
แบบลิเคิท
ผลการศึกษาพบว่าแรงงาน เป็นเพศหญิง อายุ
เฉลี่ย 38ปี มีภูมิลาเนาอยู่ในภาคเหนือ สถานภาพโสด
ไม่มีบุตร จบ กา รศึก ษาใ นระ ดับ ปริญ ญาต รี มี
ประสบการณ์ในการทางานเฉลี่ย 5 ปี ลักษณะงานที่ทา
อยู่ในปัจจุบันคือ ประกอบและตรวจสอบชิ้นส่วนงาน
ให้ได้มาตรฐาน ได้รับรายได้เฉลี่ยเดือนละ 10,087
บาท นอกจากนี้แรงงานยังได้รับสวัสดิการในด้านต่างๆ
6 ด้าน ได้แก่ สวัสดิการด้านการมุ่งพัฒนาลูกจ้าง
สวัสดิการที่ช่วยเหลือในเรื่องค่าครองชีพ สวัสดิการที่
ช่วยเหลือดารออมขอลูกจ้าง สวัสดิการที่พัฒนาสถาบัน
ครอบครัวของลูกจ้าง สวัสดิการที่ส่งเสริมความมั่นคง
ในอนาคต และสวัสดิการนันทนาการและสุขภาพ
อนามัย โดยแรงงานมีความพอใจในสวัสดิการแรงงาน
3 อันดับแรก คือสวัสดิการที่ช่วยเหลือการออมของ
ลูกจ้าง ในรูปของกองทุนสารองเลี้ยงชีพ รองลงมาคือ
สวัสดิการนันทนาการและสุขภาพอนามัยในรูปของการ
จัดงานเลี้ยงสังสรร ค์พนักงาน และสวัสดิการที่
ช่วยเหลือในเรื่องค่าครองชีพ ในรูปของการจัดชุด
ทางาน
เมื่อพิจารณาแรงงานกลุ่มตัวอย่างจาแนกตาม
การลงทุน พบว่าแรงงานในนิคมอุตสาหกรรม
ภาคเหนือจังหวัดลาพูนทั้ง 2 กลุ่ม แรงงานระดับหน่วย
ผลิตที่ทางานอยู่ในบริษัทที่ได้รับการลงทุนภายโดยตรง
จากต่างประเทศและแรงงานที่ทางานอยู่ในบริษัทที่
ได้รับการลงทุนภายในประเทศ ส่วนใหญ่ได้รับ
สวัสดิการแรงงานนอกเหนือจากที่กฎหมายกาหนด ทั้ง
6 ด้านใกล้เคียงกัน และสวัสดิการที่แรงงาน 2กลุ่ม
ได้รับแตกต่างกัน คือ สวัสดิการด้านการออมของ
ลูกจ้าง ในรูปของกองทุนสารองเลี้ยงชีพ โดยแรงงานที่
ทางานในบริษัทที่ได้รับการลงทุนภายโดยตรงจาก
ต่างประเทศนั้นได้รับสวัสดิการนี้จานวน 198 ราย และ
แ ร ง ง า น ที่ทา ง า น ใ น บ ริษัท ที่ไ ด้รับ ก า ร ล ง ทุน
ภายในประเทศได้รับสวัสดิการนี้เพียง 112 ราย ใน
ส่วนของความพึงพอใจ แรงงานที่ทางานอยู่ในบริษัทที่
ได้รับการลงลงทุนภายโดยตรงจากต่างประเทศ มีความ
พึงพอใจมากที่สุด 3อันดับแรก คือ สวัสดิการที่
ช่วยเหลือในเรื่องค่าครองชีพ รองลงมาคือ สวัสดิการที่
ช่วย เหลือกา รออ มขอ งลูกจ้า ง แ ละส วัสดิกา ร
นันทนาการและสุขภาพอนามัย ส่วนแรงงานที่ทางาน
อยู่ในบริษัทที่ได้รับการลงทุนภายในประเทศ มีความ
พอใจมากที่สุด 3อันดับแรก คือ สวัสดิการนันทนาการ
และสุขภาพอนามัย รองลงมาคือ สวัสดิการที่พัฒนา
สถานบันครอบครัวของลูกจ้าง และสวัสดิการที่
ช่วยเหลือการออมของลูกจ้าง

References

กระทรวงแรงงาน.(2557). สัสดิการแรงงาน. สืนค้น
เ มื่ อ 1 5 สิง ห า ค ม 2 5 5 7 , จ า ก
http://www.mol.go.th/employee/welfar
e_workers
กีรติ สีมากุล. (2555). ผลกระทบของการลงทุน
โดยตรงจากต่างประเทศต่อการจ้างงานของ
ประเทศในอาเซียน. (การค้นคว้าแบบอิสระ
เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ ม ห า บั ณ ฑิ ต ,
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน.(2556). สถิติ
สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2556.
สืบ ค้น เ มื่อ 2 กุม ภ า พัน ธ์ 2 5 5 8 , จ า ก
http://www.labour.go.th/th%20/doc/ye
arbook2556.pdf
จังหวัดลาพูน. (2557). บรรยายสรุปจังหวัดลาพูน.
สืบ ค้น เ มื่อ 4 กัน ย า ย น 2 5 5 7 , จ า ก
http://www.lamphun.go.th/officialwebsi
te/2013
ชวลิต สละ.(2551). หลักเศรษฐศาสตร์แรงงาน
เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธนาคารแห่งประเทศไทย.(2554). รายงานภาวะและ
แ น ว โ น้ม อุต ส า ห ก ร ร ม อิเ ล็ก ท ร อ นิค ส์
ภาคเหนือ. สืบค้นเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2558,
จาก http://www.bot.or.th
นงนุช สุนทรชวกานต์.(2555). เศรษฐศาสตร์แรงงาน.
กรุงเทพมหานคร: คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พิมพ์สิริ ทองปั้น.(2554). การศึกษาค่าจ้างและ
สวัสดิการของพนักงานฝ่ายผลิตในนิคม
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิคส์ จังหวัดลาพูน.
( ก า ร ค้น ค ว้า แ บ บ อิส ร ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์
มหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).
มนัญญา คาภีละ.(2552). ผลกระทบของการลงทุน
โดยตรงจากต่างประเทศต่อผลิตภาพแรงงาน
ในระดับหน่วยผลิตภาคอุตสาหกรรมของ
ประเทศไทย.(วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์
มหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).
สิริกาญน์ อากะ.(2552). ความพึงพอใจในการทางาน
ของพนักงานฝ่ายผลิตในนิคมอุตสาหกรรม
ภาคเหนือ จังหวัดลาพูน. (การวิจัยปัญหา
เ ศ ร ษ ฐ กิจ ปัจ จุบัน ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์
,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).
สานักวิจัยกฎหมายและแรงงาน.(2550). โครงการ
ศึกษาวิจัยรูปแบบการจัดสวัสดิการที่
เหมาะสมสาหรับประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 15
สิงหาคม 2557, จาก
http://research.mol.go.th/2013/rsdat/Da
ta/doc/IFGL1f0.pdf
สุมาลี ปิตยานนท์.(2539). เศรษฐศาสตร์แรงงาน.
พิมพ์ครั้งที่2.กรุงเทพมหานคร : คณะ
เศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

คำบุรี ว. (2019). สวัสดิการของแรงงานระดับหน่วยผลิตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลาพูน. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 7(2), 23. https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i2.214365