ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ: กรณศี กึ ษาคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

ผู้แต่ง

  • กนกลักษณ์ เจษวรัญญู
  • ทิพาพันธุ์ สังฆะพงษ์
  • รัตนา ปานเรียนแสน

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i2.214367

คำสำคัญ:

ความสุข; ปัจจัยค้ำจุน; การทำงาน; พยาบาลวิชาชีพ

บทคัดย่อ

ความสุขในการทำ งานมีความจำ เป็นต่อ
พยาบาลและเพื่อนร่วมงาน การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาความสุขในการทำงาน ปัจจัยค้ำจุนในการ
ทำงานของพยาบาลวิชาชีพ และหาความสัมพันธ์
ระหว่างปัจจัยค้ำจุนในการทำงานกับความสุขในการ
ทำงานของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็น
พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล จำนวน
267 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม
ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ลักษณะทาง
ประชากรศาสตร์ ส่วนที่ 2 ปัจจัยค้ำจุนในการทำงาน
ส่วนที่ 3 ความสุขในการทำงาน มีค่าความเชื่อมั่น
เท่ากับ 0.92 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ด้วยสถิติบรรยาย ได้แก่ การ
แจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความสุขในการทำ งานของพยาบาล
วิชาชีพ โดยรวม อยู่ในระดับสูง (xˉ =3.52, S.D.
=0.52)
2. ปัจจัยค้ำจุนในการทำงานของพยาบาล
วิชาชีพมีค่าคะแนนเฉลี่ยโดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง
(xˉ =3.38, S.D. =0.41) โดยปัจจัยค้ำจุนที่มีระดับสูง
ได้แก่ ด้านสัมพันธภาพในครอบครัว (ˉx =3.88, S.D.
=0.54) ด้านสัมพันธภาพในที่ทำงาน (xˉ =3.82, S.D.
=0.50) ด้านนโยบายและการบริหาร (xˉ =3.63, S.D.
=0.45) และด้านลักษณะงาน (xˉ =3.48, S.D. =0.49)
3. ปัจจัยค้ำจุนในการทำงานมีความสัมพันธ์
ทางบวกในระดับปานกลางกับความสุขในการทำงาน
ของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ
.01 ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการ
ปรับปรุงปัจจัยค้ำจุนในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ
เพื่อส่งเสริมให้พยาบาลวิชาชีพมีความสุขในการทำงาน
เพิ่มขึ้น ทำให้ได้ผลงานที่มีคุณภาพและเป็นผลดีต่อ
องค์การ

References

กัลยารัตน์ อ๋องคณา. (2549). ความสัมพันธ์ระหว่าง
ปัจ จัยส่วน บุค ค ล ก ารรับ รู้คุณ ค่าใ น ต น
สภาพแวดล้อมในงานกับความสุขในการทำงาน
ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลเอกชน
เขตกรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร
มหาบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
จงจิต เลิศวิบูลย์มงคล. (2546). ความสัมพันธ์ระหว่าง
ปัจจัยส่วนบุคคล การได้รับการเสริมสร้างพลัง
อำนาจในงาน แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ กับความสุข
ใ น ก าร ทำ งา น ข อง พยา บา ลป ระ จำ ก า ร
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ. วิทยานิพนธ์
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จันทร์เพ็ญ สิทธิวงศ์. (2545). ความสัมพันธ์ระหว่าง
การเสริมสร้างพลังอำนาจในงานกับความพึง
พ อ ใ จ ใ น ง า น ข อ ง พ ย า บ า ล ป ร ะ จำ ก า ร
โรงพยาบาลศรีนครินทร์. วิทยานิพนธ์พยาบาล
ศาสตร มหาบัณฑิต คณะ พย าบาลศาสต ร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
จิราภรณ์ แพรต่วน. (2543). ความเครียดและความพึง
พ อ ใ จ ใ น ง า น ข อ ง บุค ล า ก ร พ ย า บ า ล ใ น
โ ร ง พ ย า บ า ล สัง กัด สำ นัก ก า ร แ พ ท ย์
กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์การศึกษา
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร.
ทัศนา บุญทอง. (2543). ทิศทางการปฏิรูประบบการ
พยาบาลที่สอดคล้องกับระบบบริการสุขภาพ
ไทยที่พึงประสงค์ในอนาคต. (พิมพ์ครั้งที่ 3).
กรุงเทพฯ: ศิริยอดการพิมพ์.
เบญจวรรณ ซี่โฮ่. (2542). ความพึงพอใจในการ
ปฏิบัติงานตามบทบาทครูพี่เลี้ยงของพยาบาล
ประจำ การโรงพยาบาลตรัง. วิทยานิพนธ์
วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์)
บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยมหิดล.
ประจำ การโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ.
วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต คณะ
พยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฝ่ายการพยาบาล คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. (2556). ข้อมูลฝ่าย
การพยาบาลคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. เอกสารอัดสำเนา.
พรรณิภา สืบสุข. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างการ
รับรู้ลักษณะงาน ภาวะผู้นำ การเปลี่ยนแปลง
ของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับความสุขในการทำงาน
ข อ ง พ ย า บ า ล ป ร ะ จำ ก า ร โ ร ง พ ย า บ า ล
มหาวิทยาลัยของรัฐ. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสต
รมหาบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ฟาริดา อิบราฮิม. (2535). นิเทศวิชาชีพและจริย
ศาสตร์ทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: สามเจริญ
พาณิชย์.
มัณฑนี ฉายชูวงษ์. (2544). บรรยากาศองค์การกับ
ความพึงพอใจในงานของผู้ปฏิบัติงานประจำ
สถานีอนามัยในจังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สายสมร เฉลยกิตติ และอารีวรรณ อ่วมตานี. (2545).
ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจ โดย
หัวหน้าหอผู้ป่วยต่อการได้รับข้อมูลป้อนกลับ
เกี่ยวกับการปฏิบัติงานและความพึงพอใจใน
งานของพยาบาลประจำ การ. วารสารคณะ
พยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 14(3),
23-31.
Kerns, C. D. (2008). Putting performance and
happiness together in the workplace:
Both job performance and the
employees’ level of happiness impact
the potential of success for an
organization. Journal of Relevant
Business Information and Analysis, 11(1).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

เจษวรัญญู ก., สังฆะพงษ์ ท., & ปานเรียนแสน ร. (2019). ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ: กรณศี กึ ษาคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 7(2), 33. https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i2.214367