ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงอัตราตัววัดผลการดำเนินงานทางด้าน สินทรัพย์และตัววัดผลการดำเนินงานทางด้านกำไรที่มีต่ออัตราผลตอบแทน สินทรัพย์และอัตรากำไรสุทธิในอนาคต

ผู้แต่ง

  • ชำนาญ พิวิโส
  • ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i2.214369

คำสำคัญ:

อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ในการ ดำเนินงานในอนาคต; อัตรากำไรจากการดำเนินงานใน อนาคต

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงตัววัดผลการ
ดำเนินงานทางด้านทรัพย์สินและกำไรทีมีต่ออัตรา
ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ในการดำเนินงาน และอัตรา
กำ ไรสุทธิในอนาค ต รวมทั้งเ พื่อเป รีย บเ ทีย บ
ความสามารถในการอธิบายอัตราผลตอบแทนต่อ
สินทรัพย์ในการดำเนินงาน และอัตรากำไรสุทธิใน
อนาคต กลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มธุรกิจเทคโนโลยีที่จด
ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในช่วงปี
พ.ศ.2554-2556 รวม 3 ปี ซึ่งคัดเลือกโดย ใช้วิธีการ

เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เพื่อให้เหมาะสม
กับวัตถุประสงค์การศึกษา โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่เข้า
เงื่อนไขทั้งสิ้น 38 บริษัท วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลทาง
สถิติแบ่งออกเป็นสถิติเชิงพรรณนา การทดสอบ
สมมติฐานด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ความถดถอยเชิง
พหุคูณ
ผลการศึกษา พบว่า การเปลี่ยนแปลงตัววัดผล
การดำเนินงานด้านสินทรัพย์มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับ
อัตราผลตอบแทนของสินทรัพย์ดำเนินงานในอนาคตและ
อัตรากำไรในอนาคตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนการ
เปลี่ยนแปลงตัววัดผลการดำเนินงานทางด้านกำไรมี
ความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับอัตราผลตอบแทนของ
สินทรัพย์ดำเนินงานในอนาคต แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับ
อัตรากำไรในอนาคต และเมื่อเปรียบเทียบความสามารถใน
การอธิบายอัตราผลตอบแทนสินทรัพย์ดำเนินงานใน
อนาคตและอัตรากำ ไรสุทธิในอนาคตพบว่า การ
เปลี่ยนแปลงตัววัดผลการดำเนินงานด้านสินทรัพย์อยู่ใน
ระดับที่สูงกว่าการเปลี่ยนแปลงตัววัดผลการดำเนินงาน
ด้านกำ ไร ผลการศึกษานี้สอดคล้องกับ ลดาวัลย์
คุ้มทรัพย์ (2554) ทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการ
แยกองค์ประกอบของอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์
ในการดำเนินงานสุทธิและของการเปลี่ยนแปลงอัตรา
ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ในการดำเนินงานสุทธิกับ
การพยากรณ์ความสามารถในการทำกำไรในอนาคต

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2545). การวิเคราะห์สถิติเพื่อ
ธุรกิจ : สถิติเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ.
กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
จิราพัชร นิ่มนวล. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่าง
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินกับผลการ
ดำเนินงานในอนาคตบริษัทจดทะเบียนในตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่มี รายชื่อในดัชนี
SET 100. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะ
บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ธนิษฐา มหบุญพาชัย. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่าง
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินกับ
ผลตอบแทนหลักทรัพย์และผลการดำเนินงาน
ในอนาคต.การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาโท
ทางการบัญชี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ไพฑูรย์ กำชัย (2552). เงินปันผลและการส่ง
สัญญาณเกี่ยวกับความสามารถในการทำกำไร
ในอนาคตกรณีศึกษา บริษัทจดทะเบียนในตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ.
2547 ถึง พ.ศ.2550. การศึกษาค้นคว้าอิสระ
ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
รัชนีพร แสนสุรินทร์. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่าง
อัตราการจ่ายเงินปันผลและอัตราการเติบโต
ของกำไรในอนาคตของบริษัทจดทะเบียนใน
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. การศึกษา
ค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ลดาวัลย์ คุ้มทรัพย์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่าง
การแยกองค์ประกอบของอัตราผลตอบแทนต่อ
หลักทรัพย์ในการดำเนนิ งานสุทธแิ ละของการ
เปลี่ยนแปลงอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ใน
การดำเนินงานสุทธิกับการพยากรณ์
ความสามารถในการทำกำไรในอนาคต.
วิทยานิพนธ์ ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต คณะ
พาณิชยศาสตร์และการบัญชี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิไลพร หล้าอ่อน. (2555). การศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างองค์ประกอบของกำไรและกำไรสุทธิ
กับกำไรในอนาคตของบริษัทจดทะเบียนใน
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์
ปริญญาบัญชี มหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เสาวรส ตันติวงศ์กร. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่าง
อัตราส่วนทางการเงินกับอัตราผลตอบแทน
หลักทรัพย์ในดัชนีเซ็ท 50. การศึกษาค้นคว้า
อิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อนัสปรีย์ ไชยวรรณ. (2552). ความจำระยะยาวและ
การพยากรณ์ความผันผวนในผลตอบแทน
สินทรัพย์ทางการเงิน. วิทยานิพนธ์ ปริญญา
เศรษฐศาสตรด์ ุษฎีบัณฑิต
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อภิเดช แววสุวรรณ. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่าง
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินกับ
ผลตอบแทน หลักทรัพย์และผลการดำเนินงาน
ในอนาคตของบริษัทจดทะเบียนในตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์
ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต ภาควิชาการบัญชี
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัญชลี จารุธัญลักษณ์. (2552). ปัจจัยและความเสี่ยง
ที่มีผลกระทบต่ออัตราผลตอบแทนของการ
ลงทุนในหุ้นที่มีอัตรากำไรสุทธิเพิ่มขึ้นมากที่สุด
ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.การศึกษา
ค้นคว้าอิสระ ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Abarbanell Jeffey S. and Bushee Brain J.
(1997). Fundamental Analysis, Future
Earnings, and Stock Price. Journal of
Accounting Research Vol.35 No.1
Spring.Fairfield
Patricia M., Sweeney Richard J. and Yohn Teri
Lombardi. (1996). Accounting
Classification and the Predictive
Content of Earnings. The Accounting
Review Vol.71 No.3 pp 337-355.
Sunder, S. (1980). Cormorate Capital
Investment, Accounting Methods, and
Earnings:A Test of The Control
Hypothesis. The Journal of
Finande, pp’553-568.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

พิวิโส ช., & สินจรูญศักดิ์ ฐ. (2019). ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงอัตราตัววัดผลการดำเนินงานทางด้าน สินทรัพย์และตัววัดผลการดำเนินงานทางด้านกำไรที่มีต่ออัตราผลตอบแทน สินทรัพย์และอัตรากำไรสุทธิในอนาคต. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 7(2), 57. https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i2.214369