การตดั สนิ ใจออมเงนิ ผ่านการลงทนุ กองทนุ รวมหุ้นระยะยาว ของพนกั งานเงินเดอื นประจำในกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • ปิยพร อำมสุทธิ์
  • ชุติมาวดี ทองจีน

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i2.214371

คำสำคัญ:

ส่วนประสมทางการตลาด, ความ น่าเชื่อถือ, ภาพลักษณ์; การตัดสินใจออมเงิน; กองทุน รวมหุ้นระยะยาว

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยเรื่อง การตัดสินใจออมเงินผ่านการ
ลงทุนกองทุนรวมหุ้นระยะยาวของพนักงานเงินเดือน
ประจำในกรุงเทพมหานคร เพื่อศึกษาปัจจัยของ ตัว
แปรต้นคือ ส่วนประสมทางการตลาด ผลตอบแทน
ความน่าเชื่อของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม
และภาพลักษณ์ของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน
รวม ตัวแปรตามคือ การตัดสินใจออมเงินผ่านการ
ลงทุนกองทุนรวมหุ้นระยะยาวของพนักงานเงินเดือน
ประจำในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พนักงาน
เงินเดือนประจำ จำนวน 400 คน โดยใช้การแจก
แบบสอบถามเพื่อรวบรวมข้อมูล วิธีการทางสถิติ ได้แก่
การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ
ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยด้าน
ส่วนประสมทางการตลาด ผลตอบแทน ความน่าเชื่อ
ของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม และ
ภาพลักษณ์ของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม มี
อิทธิพลต่อการตัดสินใจออมเงินผ่านการลงทุนกองทุน
รวมหุ้นระยะยาว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05

References

กัญญารัตน์ เทียนทอง และอนงค์นุช เทียนทอง.
(2554). พฤติกรรมและรูปแบบการออมของ
พนักงานสถาบันการเงินและข้าราชการใน
จังหวัดอุดรธานี (รายงานผลการวิจัย).
ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
กฤษติกา คงสมพงษ์. (2556). สิ่งแวดล้อม กลยุทธ์
ทางการตลาด. สืบค้นจาก
www.marketeer.co.th.
ขวัญ พิพัฒนสุขมงคล (2551). การพัฒนามาตรวัด
การรับรู้ของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อคุณภาพ
6การบริการของโรงแรมในจังหวัดเชียงใหม่6.
เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
จิรัตน์ สังข์แก้ว. (2544). การลงทุน. กรุงเทพฯ: โรง
6พิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ณัฐดนัย พงศ์สถาพร. (2555). 6คุณธรรมของผู้บริโภค
6ความรับผิดชอบต่อสังคมและคุณค่าตรา
6สินค้า6ที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อกองทุนรวม
LTF ของธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)
ของผู้บริโภคในจังหวัดสมุทรสาคร.
6กรุงเทพฯ:6 มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.
ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน). (2556) ข้อมูล
กองทุนรวมหุ้นระยะยาว.6กรุงเทพฯ: ธนาคาร
กรุงเทพ
ปิยะนุช เหลืองาม. (2552). บรรทัดฐานในการ
ตัดสินใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ใน
การเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง ภาวะโลกร้อน
ตามแนวทางการสอนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และสังคม. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ภัทรพร เฉลิมบงกช มารยาท โยทองยศ. (2553).
ทัศนคติ ส่วนประสมทางการตลาดกับ
พฤติกรรมการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน:
กรณีศึกษาผู้ใช้บริการธนาคารสแตนดาร์ด
ชาร์ดเตอร์ (ไทย) จำกัด (มหาชน) .กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
สมาคมบริษัทจัดการการลงทุน. (2557). ข้อมูลสถิติ
กองทุนรวม. สืบค้นจาก
http://www.aimc.or.th
สุดา ปีตะวรรณ และบุญชัย วิริยะยรรยงสุข (2552).
การวิเคราะห์เปรียบเทียบอัตราผลตอบแทน
และความเสี่ยงของกองทุนรวมหุ้นระยะยาว
(LTF) ที่บริหารโดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการ
กองทุนรวมของธนาคารพาณิชย์ กับบริษัท
หลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมของสถาบัน
การเงินที่มิใช่ธนาคารในประเทศไทย
(รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
หอการค้าไทย.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2557). ข้อมูลประชากรที่มี
รายได้ประจำกรุงเทพมหานครตามอายุ. สืบค้น
จาก http://service.nso.go.th.
เสรี วงษ์มณฑา. (2540). ครบเครื่องเรื่องการสื่อสาร
การตลาด. กรุงเทพฯ: บริษัท วิสิทธิ์พัฒนา
6 จำกัด.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

อำมสุทธิ์ ป., & ทองจีน ช. (2019). การตดั สนิ ใจออมเงนิ ผ่านการลงทนุ กองทนุ รวมหุ้นระยะยาว ของพนกั งานเงินเดอื นประจำในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 7(2), 78. https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i2.214371