ละครรำในรัชกาลที่ 7 และการสืบทอด

ผู้แต่ง

  • มณิศา วศินารมณ์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i3.214430

คำสำคัญ:

ละครรำ ในรัชกาลที่ 7; การสืบทอด; พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องละครรำ ในรัชกาลที่ 7 และการสืบทอด มุ่งศึกษาบทบาทของรัชกาลที่ 7 ที่ส่งผลต่อละครรำ ตลอดจนคณะละคร รูปแบบการแสดง บุคคล กิจการ และสถานศึกษาละครรำที่สืบต่อมาจนปัจจุบัน เพื่อพิสูจน์ว่าละครรำมิได้ล่มสลายไปท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคม โดยศึกษาจากเอกสาร ภาพถ่าย ภาพยนตร์ เว็บไซต์ การสัมภาษณ์ และการฝึกปฏิบัติจากผู้เชี่ยวชาญ
ละครรำ ในรัชกาลที่ 7 คือ การแสดงที่ดำเนินเรื่องราวซึ่งเน้นผู้แสดงสวมบทบาทฟ้อนรำประกอบบทร้องและการบรรเลงดนตรี ที่ปรากฏอยู่ในประเทศไทยในช่วงเวลาดังกล่าว รูปแบบการแสดงมีลักษณะเฉพาะของคณะที่สืบมาแต่เดิม
ผลการศึกษา พบว่า กิจกรรมที่สำคัญต่อการทำนุบำรุงละครรำมี 6 ประการ คือ 1.บุคคลสำคัญกำหนดนโยบาย หน่วยงาน และสืบทอดความรู้ 2.หน่วยงานราชการปรับเปลี่ยนการบริหารให้ชัดเจน 3.คณะละครเอกชนกระจายอยู่ทั่วไป 4.สถานศึกษามีหลักสูตรสามัญ และเฉพาะทาง 5. แผ่นเสียงบันทึกเพลงการแสดง 6. ภาพยนตร์บันทึกภาพเคลื่อนไหวของนาฏยศิลป์ครั้งแรกในประเทศไทย ละครรำก็ได้รับอานิสงส์นี้ด้วย ซึ่งเกิดคุณูปการอย่างมหาศาล ผลแห่งความพยายามในการจัดกิจกรรม จึงสามารถเก็บรักษา และพัฒนา สืบทอดให้รัฐบาลภายใต้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขดูแลและพัฒนาต่อมาจนถึงปัจจุบัน
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แม้สภาพบ้านเมืองจะตกอยู่ในสถานการณ์เศรษฐกิจตกต่ำ มีการตัดทอนงบประมาณอย่างมาก แต่ก็ยังคงเจียดจ่าย เพื่อการอนุรักษ์ และสืบทอดละครรำมาจนปัจจุบันดังที่วิจัยมานี้ นับเป็นความสำเร็จสมควรแก่การสรรเสริญอย่างยิ่งและเผยแพร่พระเกียรติคุณของพระองค์ในฐานะบุคคลสำคัญของ UNESCO ประจำปี 2556

References

กรมศิลปากร. (2545). รวมงานนิพนธ์ของนายอาคม สายาคมผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ กรมศิลปากร. กรุงเทพฯ : บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำกัด.
________. (2556). พระประวัติ และประชุมบทละครดึกดำบรรพ์. กรุงเทพฯ : บริษัท เอดิสัน เพรส โพรดักส์ จำกัด
เฉลิมศักดิ์ เย็นสำราญ. (2555). ดนตรี – นาฏศิลป์ แผ่นดินพระปกเกล้า. นนทบุรี :จตุพร ดีไซส์.
ชมนาด โศภน. (2531). พัฒนาการของการศึกษาวิชาชีพนาฏศิลป์ไทยในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธนาทิพย์ ฉัตรภูติ. (2547). ตำนานโรงหนัง. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์เวลาดี.
ธนิต อยู่โพธิ์. (2531). ศิลปะละครรำ หรือ คู่มือนาฏศิลปไทย. กรุงเทพ: กรมศิลปากร.
บรรเจิด อินทุจันทร์ยง และคณะ. จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7. (2537). กรุงเทพฯ: บริษัท วัชรินทร์การพิมพ์ จำกัด. (คณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทย และจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดี สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี จัดพิมพ์เผยแพร่ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสพระบรมราชสมภพ ครบรอบ 100 ปี).
เบญจาภา ไกรฤกษ์, หม่อมราชวงศ์. (2546). แลวัง หลังตำหนัก. ไม่ปรากฏที่พิมพ์. (งานพระราชทานเพลิงศพคุณพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์)
ปกเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (ผู้กำกับ). (2474). ภาพยนตร์ส่วนพระองค์ เรื่อง โขน [ภาพยนตร์]. มปท.
เพลินพิศ กำราญ และเนียนศิริ ตาละลักษมณ์. (2522). พระประวัติ และผลงานของพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์. กรุงเทพ: “มูลนิธินราธิปประพันธ์พงศ์-วรวรรณ”. (จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีทางเปิดศูนย์นราธิปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์).
ไพโรจน์ ทองคำสุก. (2547). ครูจำเรียง พุธประดับ ศิลปินแห่งชาติ รูปแบบความเป็นครูผู้ถ่ายทอดนาฏศิลป์ไทยแบบโบราณ. กรุงเทพฯ : สำนักการสังคีต กรมศิลปากร.
มณิศา วศินารมณ์. (2557). รายงานวิจัย เรื่อง ละครรำในรัชกาลที่ 7 และการสืบทอด. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.
รจนา สุนทรานนท์. (2549). นามานุกรมนาฏยศิลป์ ครูโขนละคร ในกรุงรัตนโกสินทร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ลำจุล ฮวบเจริญ. (2550). เกร็ดพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: The Knowledge Center.
ศุภชัย จันทร์สุวรรณ์. (2538). การวิเคราะห์แนวพระราชดำริและบทบาทพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวในการส่งเสริมการศึกษาทางด้านนาฏศิลป์และดนตรี: การศึกษาเฉพาะกรณีโรงเรียนพรานหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรพล วิรุฬห์รักษ์. (2543). วิวัฒนาการนาฏยศิลป์ไทยในกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ.2325-2477. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
หอจดหมายเหตุ, เอกสาร ร.7 ม.1/93
อนุสรณ์ ธรรมใจ. (2556). การอภิวัฒน์ 2475 กับเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมยุคใหม่. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2557 จาก http://www.oknation.net /blog/print.php?id=868238
Translated in Thai References
Archives, document process. 7 m. 1/93.
Chatpute, T. (2004). The Cinema Legend, Bangkok: Weladee Publisher.
Chunsuwan, S. (1995). Analysis of the Works and the Role of His Majesty King Rama VI to Promote the Study of Dance and Music: A Case Study Royal Pranluang School. (Master's thesis). Bangkok, Chulalongkorn University.
Fine Arts Department. (2002). Works of Mr. Arkom, Dramatic Arts Association, Fine Arts Department. Bangkok: Rungroj Printing Company (1977).
Fine Arts Department. (2013). The Prehistory and History conference. Bangkok: Edison Press Products Limited.
Huabcharoen, L. (2007). Tips Chronicle Rattanakosin. Bangkok, The Knowledge Center.
Injunyong, B. et al., Archives of the Daily Acts. The King Rama VII (1994). Bangkok: Watcharin Printing Co., Ltd. (Prehistoric Settlement of Thailand and Published Historical Documents and Archaeological Prime Minister Secretariat Office. Published In Honor of King Rama VII for His Majesty on the Occasion of the 100th Birth Year).
Kamran, P. and Talalaksana, S. (1979). The history and work of HRH Krom Phra Narathip Prapanpong. Bangkok: "Foundation Narathip Prapanpong - Vorawan". (Published on the occasion of HRH Princess Sirindhorn HRH The Princess Royal. The opening of the Centre for Research in Social Sciences Narathip).
King Rama VII. (1931). His film about pantomime [film]. MPT.
Krairiksh, B. (2003). The Back Palace. Private communication. (Cremation of P. Krairiksh).
Soonttranon, R. (2006). Dictionary Pantomime Theater, Dance Teacher in Bangkok. (PhD thesis). Bangkok's Chulalongkorn University.
Sopon, C. (1988). The Development of Professional Dance Education in Thailand. (Master's thesis). Bangkok, Chulalongkorn University.
Tamajai, A. (2013). The Globalization 2475, with the Economy, Politics and Society. Search on August 1, 2557 from http://www.oknation.net/blog/ print.php?id=868238
Thongsuk, P. (2001). Jarieng Puthapradub: National Artists, Thailand Traditional Dance. Bangkok: Office of the Performing Arts Department.
Virulrak, S. (2000). Evolution Dance Thailand in Bangkok.Year 2325-2477. Bangkok: Chulalongkorn University.
Wasinarom, M. (2014). Report of Dance Drama in the Seventh Reign and Succession. Bangkok: King Rama IVV Institute..
Yensamran, C. (2012). Music - Dance inthe the King Rama VII Reign : Jatuporn Design.
Youpo, T. (1988). Art, Theater, Dance or Dramatic Arts Guide Thailand. Bangkok: Department of Fine Arts.

เผยแพร่แล้ว

04-09-2019

How to Cite

วศินารมณ์ ม. (2019). ละครรำในรัชกาลที่ 7 และการสืบทอด. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 7(3), 8. https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i3.214430