การศึกษาไทยกับยุคของสังคมออนไลน์

ผู้แต่ง

  • ชัยวัฒน์ จิวพานิชย์
  • พัลลภ พิริยะสุรวงศ์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i3.214490

คำสำคัญ:

การศึกษาไทย สังคมออนไลน์; และการศึกษาไทย; กับยุคของสังคมออนไลน์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการเรื่อง การศึกษาไทยกับยุคของสังคมออนไลน์ มีวัตถุประสงค์ของบทความวิชาการ คือ 1. เพื่อทบทวนการศึกษาในประเทศ แบ่ง ออกเป็น 3 ระบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 2. เพื่อศึกษาทบทวนพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่มีมาตรการจัดการศึกษาสนับสนุนการศึกษาการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 3. ศึกษาติดตามการเจริญเติบโตของเทคโนโลยีโดยเฉพาะเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาตัวคอมพิวเตอร์เองออกมาในรูปแบบต่างๆ จนกระทั้งเป็นแบบพกพาได้สะดวกและพัฒนาต่อเนื่องจนเป็น Tablet PC ในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาระบบนำส่งสัญญาณให้ครอบคลุมและการส่งสัญญาณที่เร็วกว่าในอดีต และ
การส่งสัญญาณ Internet ที่เร็วกว่าอดีตทำให้เป็นการสนับสนุนการใช้งานระบบ Social Media ให้ทำงานได้รวดเร็วขึ้น และภาครัฐได้ตระหนักถึงความสำคัญของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่พัฒนามาเป็น Tablet PC ทราบได้จาก ภาครัฐมีนโยบายในการส่งเสริมเทคโนโลยีในการศึกษาแก่เยาวชนของไทย คือ มีพรบ.การศึกษาปี พ.ศ. 2542หมวด9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และ ปัจจุบัน ได้เกิดเทคโนโลยีทางสังคมบนเครือข่าย Internet ขึ้นมา เราเรียกว่า สังคมออนไลน์ หรือ Social Network หรือ Social Media 4. การศึกษาสังเกตพฤติกรรมการใช้งานคอมพิวเตอร์เพื่อเข้า Internet ของนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปีการศึกษา 2557 และ 5. นำเสนอคุณสมบัติที่ดีของ Social Media
จากการศึกษาสังเกตพฤติกรรมการใช้งานคอมพิวเตอร์เพื่อเข้า Internet ของนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปีการศึกษา 2557 พบว่า นักศึกษาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา ทุกคนเข้าร่วมสังคมออนไลน์ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 100

References

กติกา สายเสนีย์. (2551). Social Network คืออะไร. สืบค้นเมื่อวัน 15 กุมภาพันธ์, 2555 จาก ชื่อเว็บไซต์: http://keng.com/2008/08/09/what-is-social-networking/
ฉกาจ ชลายุทธ. (2555). คุณสมบัติที่ดีของ online หรือ Social Media Specialist ถึง Manager. สืบค้นเมื่อวัน 15 กุมภาพันธ์, 2555 จาก ชื่อเว็บไซต์: http://digimolek.com/2011/03/07.
ณัฐพล บัวอุไร. (2554). เครือข่ายสังคมออนไลน์. สืบค้นเมื่อวัน 13 กุมภาพันธ์, 2555 จาก ชื่อเว็บไซต์: http://www.nattapon.com/
2011/12/21/social-network/
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๗๔ ก. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. (2542). สืบค้นเมื่อวัน 10 กุมภาพันธ์, 2555 จาก ชื่อเว็บไซต์: http://www.moe.go.th/ main2/plan/p-r-b42-01.htm
อัญชลี ธรรมะวิธีกุล. (2552). การศึกษาในระบบ (Formal Education). สืบค้นเมื่อวัน 15 กุมภาพันธ์, 2555 จาก ชื่อเว็บไซต์: http://panchalee.wordpress.com.
_______________. การศึกษาในระบบ (Formal Education). (2552). การศึกษาในระบบ (Formal Education). สืบค้นเมื่อวัน 15 กุมภาพันธ์, 2555 จาก ชื่อเว็บไซต์: http://www.banprak-nfe.com.
อิทธิพล ปรีติประสงค์. (2552). ประเภทของเครือข่ายสังคมออนไลน์. สืบค้นเมื่อวัน 15 กุมภาพันธ์, 2555 จาก ชื่อเว็บไซต์: http://gotoknow.org.
Translate in Thai References
Bua-Urai, N. (2011). Social Networks Online. Search On February 13, 2555 from the website: http://www.nattapon.com/2011/
12/21/social-network/.
Chalayuth, C. (2012). Good features of online or Social Media Specialist to Manager. Searched on February 15, 2555 from the website: http://digimolek.com/
2011/03/07.
Dharmawitheekul, A. (2009). Formal Education. Searched on February 15, 2555 from the website: http://panchalee.wordpress.com.
Dharmawitheekul, A. (2009). Formal Education. Searched on February 15, 2555 from the website: http://www.banprak-nfe.com.
Government Gazette, Volume 116 Section 74, National Education Act 2542. (1999). Retrieved on February 10, 2555 from the website: http://www.moe.go.th/. main2 / plan / pr-b42-01.htm.
Preetiprasong, I. (2009). Type of Social Network Onlines. Search On February 15, 2555 from the website: http://gotoknow.org.
Saisenee, K. (2008). Social Network is ?
Retrieved on February 15, 2555 from
the website: http://keng.com/2008/
08/09/what-is-social-networking/

เผยแพร่แล้ว

04-09-2019

How to Cite

จิวพานิชย์ ช., & พิริยะสุรวงศ์ พ. (2019). การศึกษาไทยกับยุคของสังคมออนไลน์. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 7(3), 202. https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i3.214490