แนวทางการบริหารองค์การธุรกิจโลจิสติกส์ไทย สู่ความเป็นเลิศ

ผู้แต่ง

  • เบญจพนธ์ มีเงิน

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i1.214578

คำสำคัญ:

การบริหารองค์การธุรกิจ ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย องค์การแห่งความเป็นเลิศ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการบริหารองค์การธุรกิจโลจิสติกส์ไทยสู่ความเป็นเลิศ จากกลุ่มตัวอย่าง
จำนวน 220 ตัวอย่าง ซึ่งเป็นตัวแทนของประชากรเป้าหมายในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้งหมด รวมทั้งสิ้นจำนวน 400 องค์การ การวิจัยนี้ 7เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูล ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลและความสัมพันธ์ของตัวแปร ผู้วิจัยใช้ สถิติเชิงพรรณนา (ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน) และสถิติเชิงอนุมาน7 ผู้วิจัยใช้7เทคนิควิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis—MRA)
ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยด้านกลยุทธ์ ปัจจัยด้านโครงสร้าง ปัจจัยด้านกระบวนการ และปัจจัยด้านคน มีความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงในทางบวกต่อภาวะผู้นำ และปัจจัยด้านภาวะผู้นำและปัจจัยด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงในทางบวกต่อความสำเร็จในการบริหารองค์การธุรกิจโลจิสติกส์ไทยสู่ความเป็นเลิศ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่นัยสำคัญ.05 (p-value<.05).

References

ฉวีวรรณ เกียรติโชคชัยกุล.(2551). CSR-Breaking through Business Crisis. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.
ทัศนีย์ เหลืองตระกาลกูร.(2552).การจัดการความ รับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ.
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ปรีชา เศขรฤทธิ์ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเพ็ญโสม
ดามาพงศ์. (2554). Duties of the
Corporate Governance and Social & Environmental Responsibility Committee) เอส ซี แอสเสท คอร์ปอเรชั่น.
พฤทธิ์ เทศจีน.(2552). การถดถอยขององค์การและ
แนวทางปรับตัวสู่ความเป็นเลิศ.กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ภารณ วงศ์จันทร์.(2552). ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
วิริสุดา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา.(2550). ความรับผิดชอบ
ต่อสังคมในองค์การธุรกิจไทย.
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สถาบันคีนันแห่งเอเชีย.2550. การประชุมการพัฒนา
แห่งสหัสวรรษ.กรุงนิวยอร์ค: สหรัฐอเมริกา.
สุเมธ กาญจนพันธุ์. (2551). การกลยุทธ์การบริหารจัดการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์.(2545). การใช้สถิติในงานวิจัยอย่างถูกต้องและได้มาตรฐาน.กรุงเทพฯ: เฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง.
CRRC Queen's University Belfast. (2008).
Corporate Social Responsibility: CSR.
Farrar, Mel.(2004)The Excellent Organization,
The British Journal of Administrative
Management 39, 2004.
Frank Buytendijk and Ravi TNC.(2008).
Organizing for Management
Excellence, Part 2. Journal of
Management Excellence, 2008.
Hesham A. E. Magd, Abdel Moniem Ahmed and Salah ElD in Adam Hamza. (2007) Organizational Excellence Journey: Critical Success Factors of
Engineering firms in Saudi Arabia and United Arab Emirates.
Hussain T., M. Khalid. S. Waheed. FACTORS
THAT LEAD ORGANIZATIONS TO
ACHIEVE BUSINESS EXCELLENCE,
Journal of Quality and Technology
Management Volume VI, Issue 1,
June, 2010, Lahore, Pakistan, 2010.
Michalska J. (2008) Using the EFQM
Excellence model to the process
assessment, Journal of Achievements
in Materials And Manufacturing
Engineering, Volume
27, Issue 2, (April, 2008).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-09-2019

How to Cite

มีเงิน เ. (2019). แนวทางการบริหารองค์การธุรกิจโลจิสติกส์ไทย สู่ความเป็นเลิศ. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 7(1), 96. https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i1.214578