ภาวะผู้นำเยาวชนขององค์กรคนรุ่นใหม่เพื่อสันติภาพ
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i1.214581คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำเยาวชน, องค์กรคนรุ่นใหม่เพื่อสันติภาพบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ศึกษาระดับภาวะผู้นำเยาวชนขององค์กรคนรุ่นใหม่เพื่อสันติภาพและเปรียบเทียบระดับภาวะผู้นำเยาวชนฯที่จำแนกตามประเภทสถาบันการศึกษาประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ เยาวชนที่ศึกษาระดับอุดมศึกษาที่เป็นสมาชิก เครือข่ายองค์กรคนรุ่นใหม่เพื่อสันติภาพ จำนวน 1,606คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิชนิดไม่มีสัดส่วนจำนวน 330 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และIndependent t - test
ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเยาวชนขององค์กรคนรุ่นใหม่เพื่อสันติภาพในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X= 3.42) องค์ประกอบที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ความรับผิดชอบต่อส่วนรวม (X=3.59) และองค์ประกอบที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ความรู้ความสามารถ (X= 3.24) และ 2) เยาวชนในองค์กรคนรุ่นใหม่เพื่อสันติภาพที่ศึกษาในประเภทสถาบันการศึกษาต่างกันมีระดับภาวะผู้นำเยาวชนภาพรวมและรายองค์ประกอบแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
References
คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ. แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2555-2559. กรุงเทพมหานคร. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย ; 2554.
จักรินทร์ ผิวเหลือง. คุณลักษณะภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ ตามการรับรู้ของนักเรียนเตรียมทหารโรงเรียนเตรียมทหารกรมยุทธศึกษาทหารเรือกองบัญชาการทหารสูงสุด. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ; 2548.
เชษฐ์ภณัฏ ลีลาศรีสิริ. การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น ; 2555.
นพลักษณ์ หนักแน่น. การพัฒนากลยุทธ์การ
พัฒนาภาวะผู้นำของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์/
ศึกษาศาสตร์ระดับปริญญาบัณฑิต ระหว่าง พ.ศ. 2555- 2564. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ; 2555.
พิพัฒน์ นนทนาธรณ์. ภาวะผู้นำเชิงปฏิบัติการ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร. ศูนย์ผู้นำธุรกิจเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ; 2556.
รัตติกรณ์ จงวิศาล. ภาวะผู้นำ ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ; 2557
ศิริชัย พงษ์วิชัย. การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย
คอมพิวเตอร์. พิมพ์ครั้งที่ 19. กรุงเทพมหานคร.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ; 2551.
สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์แนวคิด ทฤษฎี และกรณีศึกษา. มหาสารคาม. อภิชาติการพิมพ์ ; 2557.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.2554. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคม
แห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) .
Available from :http://www.nesdb.go.th.
สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. ภาวะผู้นำ ทฤษฎีและปฏิบัติ :
ศาสตร์และศิลป์สู่ความเป็นผู้นำที่สมบูรณ์.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร.วิรัตน์ เอ็ดดูเคชั่น ; 2548.
สุภาพ ณ นคร และคณะ. รายงานการวิจัย”เรื่อง
การศึกษาวิเคราะห์รูปแบบที่เหมาะสมในการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย”สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร. ภาพพิมพ์ ; 2547.
องค์กรคนรุ่นใหม่เพื่อสันติภาพ. ข้อมูลองค์กรคนรุ่นใหม่
เพื่อสันติภาพ. เอกสารอัดสำเนา ; 2553.
องค์กรคนรุ่นใหม่เพื่อสันติภาพ. ข้อมูลองค์กรคนรุ่นใหม่
เพื่อสันติภาพ. เอกสารอัดสำเนา ; 2557.
Blake. Robert R. and Jane Srygley Mouton. The
Managerial Grid. Houston Texas: Gulf Publishing Company. 1964.
DuBrin, A. J. Leadership. Research finding,
Practice and skills. Boston.Houghton Mifflin. 1995. P. 53-54 .
Komives, S. R., Wangner, W. and Associates.
Leadership for a better world: understanding the social change Model of Leadership Development. San Francisco, CA: Jossey-Bass.
2009.
Stogdill, R. M. Handbook of leadership: A survey of the literature. New York: Free Press. 1974.
Wagner. W. The Social Change Model of
Leadership: A Brief Overview. Concepts &
Connections. Volume 15.2006.p 1-8 .
Yukl, G. Managerial leadership: A review of theory and research. Journal of Management. 15(2). 1988. p 251-289.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว