การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์ วิชาแกะสลักเชิงธุรกิจเพื่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

ผู้แต่ง

  • สุริยา เทพิน
  • ศักรินทร์ หงส์รัตนาวรกิจ
  • ธนพรรณ บุณยรัตกลิน
  • พเยาว์ ดีใจ
  • สมสมร พรพรรณพิพัฒน์ พรพรรณพิพัฒน์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i1.214731

คำสำคัญ:

การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์, วิชาแกะสลักเชิงธุรกิจ, ประชาคมอาเซียน

บทคัดย่อ

             การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสื่อวีดิทัศน์และหาประสิทธิภาพสื่อวีดิทัศน์วิชาแกะสลักเชิงธุรกิจเพื่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80และศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสื่อวีดิทัศน์วิชาแกะสลักเชิงธุรกิจเพื่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนกลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่ก าลังศึกษาในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา2557 จ านวน 30 คน โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบประเมินคุณภาพบทเรียน แบบวัดทักษะการสอน และแบบวัดความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมานผลการวิจัยพบว่าคุณภาพด้านเนื้อหาของสื่อวีดิทัศน์โดยรวมมีค่าเฉลี่ย 4.51อยู่ในเกณฑ์ดีมาก และคุณภาพด้านสื่อวีดิทัศน์โดยรวมมีค่าเฉลี่ย 4.64 อยู่ในเกณฑ์ดีมาก ประสิทธิภาพของสื่อวีดิทัศน์เท่ากับ93.83/90.69 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ และความพึงพอใจโดยรวมมีค่าเฉลี่ย 4.32 อยู่ในระดับมาก

References

Atisapda, w. (1990). Educational Video
Production and Training. Bangkok
: Odeonstore Publisher.
Boongerd, S. (2010).The Development of
E-learning Courseware Media of
ESS 110 : Swimming.. Master's
Project,Srinakharinwirot University.
In-Udom, W. (1996).Educational Video
Production. Faculty of Education:
Khonkaen University.
Klaynak, P. (1998).Educational Video
Production. Nakhonprathom :
Faculty of Education : Silpakorn
University.
Limwong, T. (2005).TheDevelopment of
Educational Videotape Program
On “First Aid” in Health and
Physical Educational 4 Students.
Master's Project, M.Ed. Srinakharinwirot
University.
Malithong, K. (2000).Educational
Technology and Innovation. (2nd
ed)..Bangkok : Arun Publishers.
Office of Higher Education Commission
.(2009). Thai Qualification
Framework for Higher Education
(TQF). Bangkok : OHED.
Office of the National Economic and
Social Development Board. (2012).
The eleventh national economic
and social development plan
(2012-20916). Bangkok : NESDB.
Panprom, S. (2013). Fruits and
Vetgetable Carving : The
Development of Carving Patterns
for Food Decoration.PH.D. Major
Cultural Science. Mahasarakham
University.
Phranakorn. (2013).Student Handbook
RMUTP. Bangkok : Student
Development Division RMUTP.
Promket, S. (2004). The Development of
Video Program on Medicinal
Herbs Planting Course :
“pineapple Utilizing by Local
Wisdom”for Mathayomsuksa
3.Master's Report Submitted. M.Ed.
Silpakorn University.
Sonsinpong, A. (2003).The Development
of Insteuctional Videotapes on
Physical Education and Health
Education Hygiene Substance
Group Learning for Basic Personal
Hygiene Behavior with Regard to
the National Health
Recommendations for
Matthayomsuksa 1 Students.
M.Ed. Major Educational
Technology, Mahasarakham
University.
Suwannasri, B. (1998).A development
videotape for assisted teaching in
music on practicum in Khong
Wong Yai for prathomsuksa IV
students of Rajphracha Smasai
school in Samutphrakarn.
Graduate School: Srinakharinwirot
Prasarnmit Campus, Bangkok.
Utamachan, W.(1995). Tv-video software
in Education application. Bangkok,
Chulalongkorn University.
Waichiengka, A. (2013) Attitudes toward
the Preservation of Banana Leaf
Craft, Flower Work and
Decoration of Fresh Flowers of
the Faculty of Home Economics
Technology Students,
Rajamangala University of
Technology. Master of Home
Economics. Home Economics.
Rajamangala University of Technology.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

28-12-2018

How to Cite

เทพิน ส., หงส์รัตนาวรกิจ ศ., บุณยรัตกลิน ธ., ดีใจ พ., & พรพรรณพิพัฒน์ ส. พ. (2018). การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์ วิชาแกะสลักเชิงธุรกิจเพื่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(1). https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i1.214731