ปัจจัยสู่ความสำเร็จของผู้ประกอบการค้าปลีกแบบดั้งเดิม ในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • พัชราภรณ์ เลขยันต์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v10i1.220598

คำสำคัญ:

ปัจจัยความสำเร็จ ผู้ประกอบการ การค้าปลีก

บทคัดย่อ

การศึกษาปัจจัยสู่ความสำเร็จของผู้ประกอบการค้าปลีกแบบดั้งเดิม ในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการค้า ปลีกแบบดั้งเดิม ในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในภาพรวมจากการแจกแบบสอบถามผู้ประกอบการค้าปลีกจำนวน 400 ราย ผลการศึกษา พบว่า ด้านกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาด รายด้านได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ นำสินค้าที่ออกใหม่และอยู่ในความต้องการของลูกค้ามาจำหน่ายอย่างสม่ำเสมอ X = 4.69 ให้ความสำคัญกับคุณภาพของสินค้า ที่นำมาวางจำหน่าย X = 4.69 นำสินค้าที่มีความหลากหลายมาจำหน่ายในร้าน X = 4.59 ด้านราคา กำหนดราคาเหมาะสมกับคุณภาพของสินค้า X = 4.64 ให้ความสำคัญกับการติดป้ายราคาที่ชัดเจน X = 4.40 ด้านสถานที่จัดจำหน่าย ทำเลที่ตั้งอยู่ใกล้แหล่งที่พักอาศัย X = 4.69 ทำเลที่ตั้งของร้านสะดวกต่อการเดินทาง X= 4.66 อยู่ในระดับมากที่สุด และด้านการส่งเสริมการตลาด มีการจัดรายการส่งเสริมการขาย (ลดราคา แจกของแถม) X = 4.04 และมีการติดป้ายโฆษณาสินค้าเพื่อให้ลูกค้าเกิดการรับรู้ X = 3.74 อยู่ในระดับมาก ผลการศึกษากลยุทธิส่วนประสมการตลาดในด้านยอดขายและกำไรมีความสัมพันธ์กับความสำเร็จของ ผู้ประกอบการค้าปลีกแบบดั้งเดิมด้านจำนวนลูกค้า ยอดขาย และกำไร ข้อมูลเกี่ยวกับกลยุทธิทางการตลาด ด้าน ผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และด้านส่งเสริมการตลาด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

References

Armstrong, G., & Kotler, P. (2003). Marketing:
An Introduction (6th Edition).
Prentice Hall.
Chusornsai, S. (2011). Factors Affecting
Consumer’s Buying Behavior from
Traditional Retail Stores of
Southern Bangkok. Master Project,
M.B.A (Marketing). Srinakharinwirot
University. (in Thai).
Commercial Registration Office in Dusit
District. (2015, June 23). History of
Dusit District Office. Retrieved
fromhttp://www.bangkok.go.th/dusit/
. (in Thai).
Dusit District Office, Bangkok. (2015, June 12).
Statistics of District Administration
in Dusit. Retrieved from
http://www.bangkok.go.th/dusit/. (in
Thai).
Inkaew, S. (2012). Retailing Management (3th
edition). Bangkok: Thana Press. (in
Thai).
Kaewjeamwong, P. (2008). Marketing
Strategies of Traditional Retail
Stores from Expanding
Multinational Retail Businesses in
The City of Phetchabun. Research
Report. Faculty of Management
Science,Phetchabun Rajabhat
University. (in Thai).
Kasikorn Research Center. (2015, June 10).
Thailand Retail Business in 2001:
Small Retail Businesses Hope to Rely
on Government with Expanding
Modern Retail. Retrieved from
http://www.kasikornresearch.com/po
rtal/site/KResearch/menuitem. (in
Thai).
Kijlertpairoj, W. (2009). The 8 Key Factors to
success of Retail Business. Faculty
of Business Administration,
Marketing. Thonburi University. (in
Thai).
Office of Trade Competition. (2015, June 12).
The Growth of Modern Trade
Giants. Competition Insights.7, 1-2.
Retrieved from
http://otcc.dit.go.th/pdf/know7.pdf.
(in Thai).
Rojanasupamit, S. (2009). Economic impacts
of modern retailers on small scale
local retailers in Mueang Nan
District. Independent Study, Master
of Arts (Political Economy). Chiang
Mai University. (in Thai).
Serirat, S. (1991). Marketing Strategy.
Bangkok: Pathana Suksa. (in Thai).
Siam Commercial Research Center. (2015,
June 10). Various Businesses,
Direction and strategy of Retail
Business after Joint Venture or
Merger from Foreign. Retrieved
from
http://www.scb.co.th/LIB/PubRI/busi.
htm. (in Thai).
Tuntiwongwanich, W. (2009). Retailing
Business. Bangkok: Kasetsart
University Press. (in Thai).
Udompunthurak, S. & Pooliam, J. (2015, Jan
29). Calculation of Sample Size by
Taro Yamane. Retrieved from
http://hpe4.anamai.moph.go.th/Surv
eillance/data/yamane.pdf. (in Thai).
Wanasupdumrong, N. (2007). Strategies for
Competitive Advantage of
Traditional Retail Business in
Mahasarakham Province.
Independent Study. M.B.A
(Marketing). Mahasarakham
University. (in
Thai).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

09-10-2019

How to Cite

เลขยันต์ พ. (2019). ปัจจัยสู่ความสำเร็จของผู้ประกอบการค้าปลีกแบบดั้งเดิม ในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 10(1), 12. https://doi.org/10.53848/irdssru.v10i1.220598