การตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมจากการกระทำผิดในโลกอินเทอร์เน็ต: กรณีศึกษาการรังแกกันในโลกไซเบอร์ ในรูปแบบการคุกคามทางเพศ ในเขตกรุงเทพมหานคร
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v11i2.233383คำสำคัญ:
การตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม, การกระทำผิดในโลกอินเทอร์เน็ต, การรังแกกันในโลกไซเบอร์, รูปแบบการคุกคามทางเพศ, เขตกรุงเทพมหานครบทคัดย่อ
การวิจัยนี้ศึกษาปัจจัยและผลกระทบ และเพื่อเสนอเป็นแนวทางในการป้องกันหรือลดโอกาสการตกเป็นเหยื่อการรังแกกันในโลกไซเบอร์ ในรูปแบบการคุกคามทางเพศ ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้เทคนิคแบบลูกโซ่กับผู้ตกเป็นเหยื่อการรังแกกันในโลกไซเบอร์ ในรูปแบบการคุกคามทางเพศ กับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 10 ราย และนำข้อมูลจากเอกสารมาวิเคราะห์และประมวลผลโดยเชื่อมโยงในลักษณะการพรรณนา
ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัย 3 องค์ประกอบหลักคือ เหยื่อที่เหมาะสม แรงจูงใจให้เกิดการตกเป็นเหยื่อ และ ภาวะขาดการป้องกัน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ มีผลกระทบต่อ ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และด้านสังคม และแนวทางในการป้องกันหรือลดโอกาสการตกเป็นเหยื่อการรังแกกันในโลกไซเบอร์ ในรูปแบบการคุกคามทางเพศ เช่น การจัดการกับพฤติกรรมการเข้าสู่โลกไซเบอร์ และการตระหนักถึงวิธีการใช้งานสื่อออนไลน์อย่างเหมาะสม
References
Bamrungkorn, S. (2009). Criminology, Penology and Victimology. Faculty of Humanities and Social Sciences, Prince of Songkla University, Pattany.
Chiablaem, B. (2015). Beware of Dangers on “Internet.” Retrieved on December 18, 2018 from https://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=41404&Key=news_research
Halligan, J. (2010). Ryan’s Story. Retrieved from http://www.ryanpatrickhalligan. org/
MTV News. (2009). MTV Lauches ‘A THIN LINE’ to stop digital abuse: shows, contents and online tools are aimed at halting the spread of sexting and cyberbullying. Retrieved from https://on.mtv.com /2ULkHF1.
Musikapan, W. et al. (2009). Cyber bullying of youths in Bangkok. National Institute for Children and Family Development Mahidol University.
Office of Justice Affairs. (2014). Crime Report. Retrieved on July 20, 2018 from http://www.oja.go.th/TH/wp-content/uploads/2017/07/cjs-b4.pdf
Population Statistics. (2015). Statistics of population in Bangkok 2015. Retrieved on July 20, 2018 from http://www.bangkokgis.com/gis_information/population
Rogers, R. W. (1975). A Protection Motivation Theory of fear appeals and attitude change. The journal of Psychology, 91 (1), 93-114.
Sakarinkul, C and Wacharasintu, A. (2014). Prevalence of bullying and psychosocial factors in middle school children. Chiangmai. Journal of the Psychiatric Association of Thailand, 59(3), p. 221-230.
Samoh, N. (2013). Youth Perception on Cyber Bullying. M.A. (Medical and Health Social Sciences. Graduate School. Mahidol University.
Satianrakul, R. (2017). Comfortable and happy life in the age of "Online." Retrieved on December 18, 2018 from https://www.finnomena.com/bblam/online-lifestyle
Shinal, J. (2017). Online threats lead to real-world harm, say security experts. Retrieved on December 18, 2018 fromhttps://www.cnbc.com/2017/08/29/online-threats-real-world-harm.html
Srisawang, S. (2015). Factors Affecting Computer Crime Protection Behavior. M.A. (Science Management Information Systems) Faculty of
Commerce and Accountacy. Thammasat University.
Suncharoen, C. (2015). Online World Cyberbullying.Retrieved from http://ww.bangkokbiznews.com/news/detail/661924
Suteesorn, S. (2002). Criminology. Bangkok. Thammasat University Press.
WP. (2018). "Thailand" most addicted to internet user in the world - "Bangkok" the city that has the highest Facebook user. Retrieved on August 5, 2018 from https://www.brandbuffet.in.th/2018/02/global-and-thailand-digital-report-2018
Xiao, B. et al. (2016). An Investigation into Cyber Bullying Perpetration: A Routine Activity Perspective. Pacific Asia Conference on Information Systems (PACIS). Association for Information Systems. AIS Electronic Library (AISeL).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว