แนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ระดับมืออาชีพในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • เขมนิจ จามิกรณ์ สาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • เอกสิทธิ์ สนามทอง
  • อิทธิพัทธ์ สุวทันพรกูล
  • ดวงเดือน จันทร์เจริญ

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v12i2.243678

คำสำคัญ:

สมรรถนะ, ผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์, ผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ระดับมืออาชีพ, ประเทศไทย

บทคัดย่อ

การวิจัยศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ระดับมืออาชีพในประเทศไทย เพื่อยกระดับสู่มืออาชีพและประเมินแนวทางการพัฒนา เป็นการวิจัยแบบผสานวิธีโดยเครื่องมือเชิงคุณภาพและเครื่องมือเชิงปริมาณ แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ การศึกษาสมรรถนะจากข้อมูลจากเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวเพื่อกำหนดโครงส้างแบบสอบถาม การสร้างแนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 28 คน และประเมินแนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ระดับมืออาชีพโดยวิธีการสนทนากลุ่ม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา พบว่า สมรรถนะผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ ประกอบด้วย ทักษะการใช้ภาษา ทักษะบุคลิกภาพที่เหมาะสม โดยแนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้ดำเนินรายการโทรทัศน ได้แก่ ปัจจัยด้านความรู้ของผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ ปัจจัยด้านทักษะของผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์

 

References

Kanchana Kaewtep and Nikom Chaikunpon. (2012). New Media Education Handbook. Bangkok: Senior Research Project, Department of Academics, Research Fund Office.

Kitima Surasonti. (1991). Communication Knowledge. Bangkok: Thammasat University Printing House.

Chantanit Assawanon. (1997). Personality Development Technique. Bangkok: Academic Promotion Center.

Chopaka Wiriyanon. (1996). Process of Building and Maintaining Television Show Host Popularity. Chulalongkorn University.

Nutchana Wuti-olan. (2009). Communication Capabilities of Top Television Show Host. (Master’s Degree Thesis). Chulalongkorn University, Bangkok.

OCSC Office (2005). Human Resources Management Strategic Plan Preparation Manual Based on HR Scorecard Guidelines. Bangkok: P.A. Leaving Co., Ltd.

National Statistical Office. (2017). Population Census of 2017. Bangkok: National Statistics Office.

Atittaya Sapsinwiwat. (2011). Entertainment Television Show Host Selection Process and Qualifications. (Master’s Degree Thesis). Thammasat University, Bangkok.

McClelland. (1998). Personality and Interpersonal Communication. Berly Hill ca: Sage 1998.

Ulrich, D. (2005). Employee and Customer Attachment: Synergies for Competitive Advantage. Human Resource Planning. 14 (2): 89-103.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

27-12-2020

How to Cite

จามิกรณ์ เ., สนามทอง เ. ., สุวทันพรกูล อ. ., & จันทร์เจริญ ด. . (2020). แนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ระดับมืออาชีพในประเทศไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 12(2), 105–115. https://doi.org/10.53848/irdssru.v12i2.243678