ไทยแลนด์ 4.0 และการตลาด 3.0 กับความอยู่รอดของธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์

ผู้แต่ง

  • ธีรวัจน์ อุดมสินเจริญกิจ สาขาวิชาเทคโนโลยีการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

คำสำคัญ:

ไทยแลนด์ 4.0, การตลาด 3.0, ความอยู่รอดของธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ

บทคัดย่อ

จุดมุ่งหมายของบทความนี้เพื่อศึกษาการปรับตัวทางธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ภายใต้นโยบายของรัฐบาล “ประเทศไทย 4.0” และระบบการตลาดโลก “การตลาด 3.0” เพราะปัจจุบันโลกเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ยุคแห่งระบบเศรษฐกิจและสังคม ที่เชี่อมโยงด้วยระบบเทคโนโลยีดิจิทัลที่หลอมรวมเข้ากับชีวิตของมนุษย์อย่างแท้จริงทำ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง รูปแบบของการดำ เนินชีวิตในทุกมิติ ผู้เขียนได้รวบรวมข้อมูลแนวคิดที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์และนำ เสนอใน 3 ประเด็น คือ (1) “ประเทศไทย 4.0” (2) การตลาด 3.0 และ (3) การปรับตัวของธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ให้อยู่รอด สำ หรับประเทศไทยนั้น รัฐบาลได้กำ หนดยุทธศาสตร์ “ประเทศไทย 4.0” อันเป็นยุทธศาสตร์สำคัญที่ทำ ให้ประเทศไทยกลายเป็นดิจิทัลไทยแลนด์ และกระแสการตลาดโลก “การตลาด 3.0” ที่เน้นเรื่องสร้างค่านิยมทางจิตใจของผู้บริโภคให้ผูกพันกับตราสินค้าและธุรกิจ ของบริษัท ทำ ให้ทุกระบบย่อมปรับตัวเพื่อความอยู่รอดเช่นเดียวกับธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ที่ต้องปรับตัวกับกระแสการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าว ผลการวิเคราะห์พบว่า (1) การปรับตัวเชิงโครงสร้างของธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ ที่ต้องนำ เทคโนโลยีมาเป็นส่วนหนึ่งของ โครงสร้างธุรกิจ (2) การปรับตัวเรื่องการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ของธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ ที่เน้นการเปลี่ยนจากธุรกิจที่ฐานรายได้หลัก จากสื่อประเภทเดียวไปสู่ธุรกิจที่มีรายได้อื่นจากฐานของธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ และ (3) การปรับเปลี่ยนกระบวนการทำ งานที่ ไม่ได้เน้นเรื่องการผลิตเนื้อหาต้องบวกการสร้างสรรค์และเชื่อมโยงแพลตฟอร์มกับสื่อดิจิทัลให้ได้

References

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
กลุ่มสื่อและสิ่งพิมพ์ ปี 58 อาการหนัก. (วันที่ 3-5 มีนาคม พ.ศ. 2559). หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ, ปีที่ 36 ฉบับที่ 3, หน้า 136.
ดนัย จันทร์เจ้าฉาย (2557). [ออนไลน์]. การตลาด 3.0 [สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2559]. จาก http://marketeer.co.th/archives/14075
ไทยพับลิก้า. (2559). [ออนไลน์]. ธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์. [สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2559] จาก http://thaipublica.org/2016/01/print
Thaipublica. (2559). [ออนไลน์]. ปรากฏการสื่อไทย-การเปลี่ยนแปลงยุค New Normal. [สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2559] จาก http://thaipublica.org/2016/09/media-1/
ปิยะชาติ อิศรภักดี. (2016) Branding 4.0. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์อัมรินทร์.
พนิชา อิ่มสมบูรณ์. (2016). The Survival Kit ทางรอดของสื่อไทยในยุคดิจิทัล. ในงานสัมมนาทางรอดของสื่อไทยในยุคดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร : 24 พฤศจิกายน 2559.
Philip Kotler,Hermawan Kartajaya และ Iwan Setiawan (2011) การตลาด 3.0 แปลโดย ณงลักษณ์ จารุวัฒน์. (2554). คอตเลอร์, ฟิลิป การตลาด 3.0. กรุงเทพมหานคร : เนชั่นบุ๊คส์.
MoneyMart. (2559). [ออนไลน์]. อุตสาหกรรมสื่อสิ่งพิมพ์ไทยปิดตัว. [สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2559] จาก http:// www.moneymartthai.com/hilight/index.hp?cat= dd5c07036f2975ff4bce568b6511d3bc&know_id=134
MGROnline. (2559). [ออนไลน์]. อุตสาหกรรมสื่อสิ่งพิมพ์ไทยปิดตัว. [สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2559] จาก http://www.manager.co.th/AstvWeekend/ViewNews.aspx?NewsID=9590000018407
ยุวดี มณีกุล. (2539). วัฒนธรรมองค์กรสื่อสิ่งพิมพ์กับขีดความสามารถในการขยายธุรกิจข้ามสื่อของบริษัท เนชั่นพับลิชชิ้ง กรุ๊ป จํากัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิวัตร เชาวรียวงษ์. (2016). The Survival Kit ทางรอดของสื่อไทยในยุคดิจิทัล. ในงานสัมมนาทางรอดของสื่อไทยในยุคดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร : 24 พฤศจิกายน 2559.
สุดารัตน์ ดิษยวรรธนะ จันทรา วัฒนากุล และอมรรัตน์ มหิทธิรุกข์. (2557). หลักและแนวคิดวารสารศาสตร์คอนเวอร์เจนซ์. กรุงเทพมหานคร : สมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย.
INN. (2559). [ออนไลน์]. ภาพรวมอุตสาหกรรมการพิมพ์ 59. [สืบค้นเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2559] http://www.innnews.co.th/show/715780/ภาพรวมอุตสาหกรรมการพิมพ์ปี 59
Alisonhamm. (2010). [Online]. New Value Chain of Journalism. [Retrieved 2016, January 21] http://www.themediaconsortium.org/2010/01/28/new-value-chain-of-journalism
Bolter, J. D. and Grusin, R. (1999). Remediation. Understanding New Media. Cambridge Massachusetts : MIT Press.
Christensen, Clayton M. (2012). [Online]. Disruptive Innovation. In: Soegaard, Mads and Dam, Rikke Friis (eds.), Encyclopedia of Human-Computer Interaction. Aarhus, Denmark: The Interaction-Design.org
Foundation. Retrieved January 2014 http://www.interaction-design.org/encyclopedia/disruptive_innovation.html
Fenez, M. and Donk, M. (2009). Moving into Multiple Business Model: Outlook for Newspaper Publishing in the Digital Age. https://mediaandentertainmentobservatory.files.wordpress.com/2010/04/outlook-for-newspaper-publishing.pdf
Fidler, R. (1997). Metamorphosis: Understanding new media. Thousand Oaks, CA : Pine Forge Press.
Gershon, R. A. (2000). The transnational media corporation: Environmental scanning and strategy formulation. The Journal of Media Economics. 13(2), pp. 81-101.
Marcel Fenez and Marieke van der Donk. (2014). [Online]. Moving into multiple business models: Outlook for Newspaper Publishing in the Digital Age. Retrieved January 2014 from http://www.wan- press.org/IMG/pdf/NewsPaperOutlook2009.pdf
Mckinsey. (2014). Why gender diversity at the top remains a challenge. New York : Mckinsey.
Peter Ferdinand Drucker. (1985). The Practice of Innovation, Innovation and Entrepreneurship Practice andPrinciples. New York: Harper & Row. Pew Research Center. 2010

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-06-25