ภาพสะท้อนมายาคติและความจริงจากภาพยนตร์ “ราโชมอน”

ผู้แต่ง

  • ประกายกาวิล ศรีจินดา สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

มายาคติ, การแสวงหาความรู้, การประกอบสร้างความจริง, ราโชมอน

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์เกี่ยวกับภาพสะท้อนมายาคติและความจริงในกระบวนทัศน์ในการแสวงหาความรู้ ด้วยการวิเคราะห์ตัวบทจากภาพยนตร์ญี่ปุ่นเรื่องราโชมอน มาอภิปรายในแนวคิดเรื่องมายาคติ พบว่า ราโชมอนได้สะท้อนข้อคิดเกี่ยวกับการประกอบสร้างมายาคติจากวัฒนธรรมญี่ปุ่น อันประกอบด้วย มายาคติเรื่องเพศ มายาคติเรื่องชนชั้น ที่ซ่อนอยู่ภายในความเป็นจริงนั้น แต่ที่สุดแล้ว การเข้าใจความจริงที่สามารถรู้เท่าทันมายาคติคือการที่ต้องมองความจริงที่รอบด้าน หลากหลาย และเข้าใจ

References

กระปุกดอทคอม. (2554). [ออนไลน์]. เปิดตำนาน ราโชมอน นิยายสุดคลาสสิกแห่งแดนซามูไร. สืบค้นจาก https://hilight.kapook.com/view/61769
นพพร ประชากุล (2551). คำนำบทแปล. ใน มายาคติ. แปลโดย วรรณพิมล อังคศิริสรรพ. กรุงเทพมหานคร : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
โรล็องด์ บาร์ตส์, วรรณพิมล อังคศิริสรรพ (2551) มายาคติ. แปลโดย นพพร ประชากุล บรรณาธิการ. กรุงเทพมหานคร : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
ศิริชัย ศิริกายะ (2554). การวิจัยเชิงคุณภาพขั้นสูง. เอกสารสรุปการบรรยายวิชาระเบียบวิธีการ
วิจัยขั้นสูง หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสาร คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สุภางค์ จันทวานิช (2554). วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรพงษ์ โสธนะเสถียร (2554). ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา เอกสารสรุปการบรรยายวิชาการ
แสวงหาความรู้และการสร้างทฤษฎี หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสาร คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.
Connell, R.W. and Messerschmidt, James W. (2005). “Hegemonic Masculinity: Rethinking the Concept” in Gender & Society, 19(6), 829-859.
Kimmel, M.S. (1987). Rethinking Masculinity: New Direction in Research. In Kimmel, M.S. (ed.) Changing Men : New Directions in Research on Men and Masculinity. CA.,Sage : Newbury Park.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-25