ความผูกพันในงานของบุคลากรทางการศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษาภาคเอกชนไทย

ผู้แต่ง

  • กฤตภาคิน มิ่งโสภา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • กฤษดา เชียรวัฒนสุข คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คำสำคัญ:

ความผูกพันในงาน , สถาบันอุดมศึกษาภาคเอกชนไทย , บุคลากรทางการศึกษา

บทคัดย่อ

สถาบันอุดมศึกษาเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจหลัก 4 ประการ ได้แก่ การผลิตบัณฑิต การบริการวิชาการ การให้บริหารแก่สังคม และการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ในปัจจุบันสถาบันการศึกษาในประเทศไทยมีจำนวนมาก และหากแต่ละสถาบันต้องการอยู่รอดท่ามกลางจำนวนนักศึกษาที่มีแนวโน้ม ลดลงและการแข่งขันสูงขึ้นมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถาบันอุดมศึกษาภาคเอกชน จะต้องการบุคลากรที่มีความคล่องแคล่วในการปฏิบัติตามกลยุทธ์ และพร้อมที่จะขับเคลื่อนภารกิจของสถาบัน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความรู้ในเรื่องความผูกพันในงาน ซึ่งเป็นตัวแปรที่สำคัญในการศึกษาทางด้านพฤติกรรมองค์การสมัยใหม่ ซึ่งรับความนิยมอย่างกว้างขวางสำหรับการศึกษาทางด้านบริหารและจัดการองค์การ โดยบทความมุ่งเน้นนำเสนอด้านความผูกพันในงานของบุคลากรทางการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาภาคเอกชนไทย ซึ่งความผูกพันในงานเป็นสภาวะจิตที่สัมพันธ์กับงานของบุคลากรที่มีต่อองค์การ และการแสดงพฤติกรรมเชิงบวกในลักษณะของการมีส่วนร่วมในงานการทุ่มเทพลังกาย จิตใจ และปัญญา ในการปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ มีความสุข มีความกระตือรือร้นในงานที่ได้รับมอบหมาย ความผูกพันในงานยังเป็นเรื่องของแรงจูงใจที่ทำให้บุคคลทุ่มเทตนเองลงไปในการปฏิบัติงานเพื่อสนับสนุน ให้องค์การประสบผลสำเร็จตามเป้าหมาย อาจกล่าวได้ว่าความผูกพันในงานนั้นส่งผลให้บุคลากรมีพลังในการทำงานสูง มีความกระตือรือร้นในการทำงาน และมุ่งมั่นทุ่มเทให้ปฏิบัติงานอย่างเต็มที่เพื่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดกับตนเองและองค์การ

References

นิดา ประพฤติธรรม. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน. วารสารบริหารธุรกิจ, 10(2), 58-80.

นันทวดี อุ่นละมัย และ กฤษดา เชียรวัฒนสุข. (2562). แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานและการคงอยู่ในองค์การของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วารสารวิชาการบริหารการพัฒนา, 9(3), 126-138.

บุณฑริกา นิลผาย. (2562). ความสัมพันธ์ของคุณลักษณะงานกับความผูกพันในงาน กรณีศึกษา: บุคลากรสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา.

(การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน, นครราชสีมา.

ปกรณ์ จันสุริยวงศ์ และ เตือนใจ ดลประสิทธิ. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันในองค์การของบุคลากรกับการบริหารงานอาคารสถานที่ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 12(2), 54-67.

ปิยนันท์ สวัสดิ์ศฤงฆาร. (2560). การสร้างความรู้สึกผูกพันให้กับพนักงาน. สืบค้นจาก https://is.gd/jWKjhM

ปฏิพัฒน์ แย้มชุติเกิดมณี และ วิชิต อู่อ้น. (2564). กรอบแนวคิดอิทธิพลของการจัดการองค์ความรู้ต่อการสร้างนวัตกรรมในองค์การและความพึงพอใจในงานของบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 15(3), 153-164.

ภาวิณี เพชรสว่าง. (2559). ความผูกพันต่องาน. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

มนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์, 36(1), 222-235.

ปฏิพัฒน์ แย้มชุติเกิดมณี และ วิชิต อู่อ้น. (2564). กรอบแนวคิดอิทธิพลของการจัดการองค์ความรู้ต่อการสร้างนวัตกรรมในองค์การและความพึงพอใจในงานของบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 15(3), 153-164.

ภาวิณี เพชรสว่าง. (2559). ความผูกพันต่องาน. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

มนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์, 36(1), 222-235.

ยุทธพงษ์ จักรคม, สุวรรณนภา สุ่ยวงษ์ และ ดวงดาว ประทิพย์ อาราราม. (2564). อิทธิพลของความพึงพอใจในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อความผูกพันของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์, 5(2), 71-96.

ศยามล เอกะกุลานันต์. (2565). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของความยึดมั่นผูกพันในงานที่มีต่อพฤติกรรมมุ่งนวัตกรรมของอาจารย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 16(1), 119-130.

ศิริพงศ์ รักใหม่, สิริฉันท์ สถิรกุล เตชพาหพงษ์ และ พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์. (2562). แนวโน้มสถาบันอุดมศึกษาเอกชน: ทางเลือกแห่งอนาคต. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 13(1),

-269.

สกาวเดือน พิมพิศาล และ ทรงพล โชติกเวชกุล. (2015). คุณภาพชีวิตการทำงานที่มีผลต่อความผูกพัน และความภักดีต่อองค์การของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารวิชาการ ธรรมทรรศน์, 15(3),

-138.

สุดาพร ทองสวัสดิ์, ประชุม รอดประเสริญ และ นิรันดร์ จุลทรัพย์. (2562). สภาพปัญหาและแนวทาง การพัฒนาความผูกพันต่อองค์การของอาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย. วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 6(2), 353-368.

สาธิต เชื้ออยู่นาน, ยุทธนา ไชยจูกุล, สุนทร คล้ายอ่ำ และ ณัฐวุฒิ อรินทร์. (2017). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการทำงานของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยรัฐ. Veridian E-Journal, 10(1),

-1421.

สุดารัตน์ แจงทอง และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2562). อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานของครูผู้สอนในจังหวัดกำแพงเพชร โดยมีความผูกพันในงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 36(1), 81-101.

สุพจน์ นาคสวัสดิ์. (2559). หนังสือการสำรวจความผูกพันในการทำงานของพนักงาน แนวคิด ทฤษฎี และแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

สมบัติ อาริยาศาล. (2561). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสถานศึกษา. Journal of Roi Keansarn Academi, 3(2), 33-46.

สมศักดิ์ เจริญพูล และ เสกสรรค์ ทองคำบรรจง. (2562). การศึกษาสมการโครงสร้างอิทธิพลของความพึงพอใจในงาน ความผูกพันพนักงาน และความผูกพันในงานต่อความผูกพันองค์การ. วารสารวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 15(1), 49-65.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580). สืบค้นจาก http://www.mua.go.th/users/bpp/ main/download/plan/plan20yrs.pdf

อัจจิมา เสนานิวาส และ สรัญณี อุเส็นยาง. (2565). แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ที่ส่งผลต่อความผูกพันของบุคลากร. วารสารสหวิทยาการวิจัยและวิชาการ, 2(1), 29-40.

อรพินทร์ ชูชม. (2557). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผลของความยึดมั่นผูกพันในงานของครู. สืบค้นจาก https://is.gd/LB052F

อุทัย ดุลยเกษม. (2547ข). ปรารมภ์เรื่องความเข้มแข็งของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. สานปฏิรูป, 6(69), 62-63.

อริสรา บุญรัตน์. (2557). แนวทางการพัฒนาภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.

Aon Hewitt. (2015). Aon Hewitt’s Model of Employee Engagement. Retrieved from https://www.aonhewitt.co.nz/getattachment/77046028-9992-4d77-868a-32fbf622fec6/file. aspx?disposition=inline

A. B. & M. P. Leiter. (2010). Work engagement: A handbook of the essential theory and research. New York: Psychology Press.

Halbesleben, J. R. B. (2010). A meta-analysis of work engagement: Relationships with burnout, demands, resources, and consequences. In A. B. Bakker (Ed.) & M. P. Leiter. Work engagement: A handbook of essential theory and research (pp. 102-117). London: Psychology Press.

Bakker, A. B. & Demerouti, E. (2008). Towards a model of work engagement.

Career Development International, 13(3), 209-223.

Bakker, A.B. (2009). Building engagement in the workplace. In R. J. Burke & C.L. Cooper (Eds.) The peak performing organization (pp. 50-72). Oxonian, UK: Routledge.

Federman, B. (2009). Employee Engagement: A Roadmap to creating Profits, Optimizing Performance, and Increasing Loyalty. San Francisco: Jossey-Bass.

Kahn, W.A. (1990). Psychological conditions of personal engagement and disengagement

at work. Academy of Management Journal, 33, 692-724.

May, D.R., Gilson, R.L., & Harter, L.M. (2004). The psychological conditions of meaningfulness, safety and avail ability and the engagement of the human spirit at work. Journal of Occupational and Organizational Psychology, 77, 11-73.

Maslach, C., & Leiter, P. M. (1997). The truth about burnout. San Francisco:

Jossey-Bass.

Maslach, C., Schaufeli, W.B., & Leiter, M.P. (2001). Job burnout. Annual Review

of Psychology, 52, 397-422.

Schaufeli, W.B., & Salanova, M. (2008). Enhancing work engagement through the management of human resources, in Naswall, K., Hellgren, J. & Snerks, M. (Eds.), The Individual in the changing working life (pp. 380-402). Cambridge: Cambridge University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-30