ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรที่มีอิทธิพลต่อความจงรักภักดีต่อองค์กร และผลการปฏิบัติงานของพนักงาน

ผู้แต่ง

  • เจษฎา ทรัพย์อร่าม นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • วรัญพงศ์ บุญศิริธรรมชัย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร , ความจงรักภักดีต่อองค์กร , ผลการปฏิบัติงาน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรที่มีต่อความจงรักภักดีต่อองค์กร และผลการปฏิบัติงานของพนักงาน การวิจัยนี้ได้ใช้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นพนักงานบริษัท ซินเท็ค คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือแบบสอบถาม โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลพนักงานและได้แบบสอบถามที่สมบูรณ์จำนวนทั้งสิ้น 289 ฉบับ เพื่อนำมาวิเคราะห์สถิติพรรณนาโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน รวมถึงใช้การวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้างเพื่อทดสอบสมมติฐาน

ผลการวิจัยพบว่าความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อความจงรักภักดีต่อองค์กร และผลการปฏิบัติงานของพนักงาน นอกจากนี้ยังพบว่าความจงรักภักดีต่อองค์กรของพนักงานส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงาน อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาอิทธิพลทางอ้อม งานวิจัยชิ้นนี้ก็ยังพบว่าความจงรักภักดีต่อองค์กรของพนักงานเป็นตัวแปรส่งผ่านจากความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรสู่ผลการปฏิบัติงานของพนักงาน

References

กานต์สินี จันทร์หนู. (2563). ทัศนคติต่อการทำงาน และความจงรักภักดี ของพนักงานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงาน บมจ.นำสินประภัย. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง. กรุงเทพฯ.

คนางค์ ภูถมดี. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในการปฏิบัติงานและความภักดีต่อองค์กรกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานองค์กรบริหารส่วนตำบล ในจังหวัดมหาสารคาม. สยามวิชาการ, 17(29), 31-49.

จาริณีย์ คงแก้ว, ณัฐชนน น้านิรัติศัย, ปิยาภรณ์ วัยนิพลี และ สุปราณี แสงเขียว. (2561). อิทธิพลของความรับผิดชอบต่อสังคมต่อผลการดําเนินงานขององค์กรจากมุมมองของการวัดผลเชิงดุลยภาพ: กรณีศึกษา ธุรกิจโรงแรมในจังหวัดภูเก็ต กระบี่ และพังงา. วารสารบริหารธุรกิจ, 41(160), 24-66.

ชมพูนุท บุญประเสริฐ. (2555). ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมกับความผูกพันของพนักงานกลุ่ม Generation Y. วารสารการจัดการ, 1(2), 24-36.

ธงชัย สันติวงษ์. (2537). การบริหารงานบุคคล (พิมพ์ครั้งที่ 7). สุราษฎร์ธานี: ไทยวัฒนาพานิช.

ปภินวิช เกกินะ, วรพงศ์ ภูมิบ่อพลับ และ ศิรวิทย์ ศิริรักษ์. (2561). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างความรับผิดชอบต่อสังคมด้านแรงงานต่อผลการปฏิบัติงานและการธำรงรักษาพนักงานในธุรกิจโรงแรม. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 7(2), 124-241.

วิมล สุรชันต์ และ ศรีสุนันท์ ประเสริฐสังข์. (2561). ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของพนักงานบริษัท แทร็กซ์ อินเตอร์ เทรด จํากัด อําเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 12(1), 23-32.

สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย. (2551). คณะกรรมการนักธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมไทย (ธวท.). สืบค้นจากhttp://www.tei.or.th/publications/2008-download/AR2008-06_tbcsd.pdf.

สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม. (2555). แนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการ. กรุงเทพฯ: เมจิกเพรส.

สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2560). ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR). สืบค้นจาก https://www.sec.or.th/cgthailand/th/pages /overview/cgandsustainablebusinessdevelopment.aspx#2.

อนันท์ งามสะอาด. (2551). การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคเดชอุดม ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้เชิงบูรณาการ. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.

Ali, I., Rehman, K., Ali, S., Yousaf, J. & Zia, M. (2010). Corporate social responsibility influences, employee commitment and organizational performance. African Journal of Business Management, 4(12), 2796-2801.

Almeida, M. D. G. M. C. & Coelho, A. F. M. (2019). The antecedents of corporate reputation and image and their impacts on employee commitment and performance: The moderating role of CSR. Corporate Reputation Review, 22(1), 10-25.

Basheer, M. F., Hameed, W. U., Rashid, A. & Nadim, M. (2019). Factors effecting employee loyalty through mediating role of employee engagement: evidence from proton automotive industry, Malaysia. Journal of Managerial Sciences, 13(2), 1-14

Book, L., Gatling, A. & Kim, J. (2019). The effects of leadership satisfaction on employee engagement, loyalty, and retention in the hospitality industry. Journal of Human Resources in Hospitality & Tourism, 18(3), 368-393.

Branco, M. C. & Rodrigues, L. L. (2006). Corporate Social Responsibility and Resource-Based Perspectives. Journal of Business Ethics, 69(2), 111-132.

Cherrington, D. (1994). Organizational behavior: the management of individual and organizational performance Boston: Allyn and Bacon.

Dos, A. (2017). Multi-criteria decision methods for CSR management-literature review. Managerial Economics, 18(1), 63-86.

Fortier, A. P. (2013). The Effects of Corporate Social Responsibility on Employees’ Job Satisfaction: An Empirical Study with Cross Cultural Dimensions. In Dynamics of International Strategy (pp. 2-21). Western Australia, AUS: Curtin University.

Gibson, J.H., John, M.I. & James H.D. (1982). Orgionizations: Behavior structure and Processes (4th ed.). Austin, TX: Business Publications.

Hoy, W. K. & Rees, R. (1974). Subordinate Loyalty to Immediate Supperior: A Neglected Concept in the Study of Educational Administration. Sociology of Education, 47, 268-286.

Lee, E., Park, S. Y. & Lee, H. (2013). Employee perception of CSR activities: Its antecedents and consequences. Journal of Business Research, 66(10), 1716-1724.

Lim, J. S. & Greenwood, C. A. (2017). Communicating corporate social responsibility (CSR): Stakeholder responsiveness and engagement strategy to achieve CSR goals. Public Relations Review, 43(4), 768-776.

Meister, J. (2012). The Future of Work: Corporate Social Responsibility Attracts Top Talent. Retrieved from https://www.forbes.com/sites/jeanne meister/2012/ 06/07/the- future-of-work- corporate-social-responsiblity-attracts-top-talent/?sh= 451e12763f95.

Rochlin, S., Bliss, R., Jordan, S., & Kiser, C. Y. (2015). Defining the competitive and financial advantages of corporate responsibility and sustainability. Retrieved from chrome extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/ https://www.charities.org/sites/default/files/Project%20ROI%20Report.pdf

Thao, L. H. H., Anh, D. N. P., & Velencei, J. (2019). Measuring corporate social performance. Serbian Journal of Management, 14(1), 193-204.

United Nation. (2011). The ten principles: United nations global compact. Retrieved from https://www.unglobalcompact.org/what-is-gc/mission/principles.

World Business Council for Sustainable Development (WBCSD). (2000). Corporate social responsibility: making good business sense. Retrieved from https://www.scirp.org/(S(351jmbntvnsjt1aadkposzje))/reference/ReferencesPapers.aspx?ReferenceID=22241

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-30