กลยุทธ์การตลาดในยุคปกติใหม่สำหรับผู้ประกอบการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

ผู้แต่ง

  • ชวิน เจิมขวัญ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • กฤษดา เชียรวัฒนสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคธัญบุรี

คำสำคัญ:

กลยุทธ์การตลาด, ยุคปกติใหม่, ผู้ประกอบการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อนำเสนอความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมในด้านการกำหนดกลยุทธ์โดยรวบรวมข้อมูลจากทฤษฎีทางการตลาดมาทำการวิเคราะห์ปัญหาร่วมกับการบูรณาการข้อมูลทางสื่อและการเผยแพร่ตามความเป็นจริงหรือตามปรากฏการณ์ทางสังคมที่ทำให้เกิดการยอมรับสำหรับการก้าวไปกับยุควิถีชีวิตใหม่ การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 นั้น
ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจอย่างมาก ผลจากวิกฤตทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการดำเนินชีวิต
ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมือนเดิมที่เรียกกันว่าความปกติใหม่ นอกจากนี้ยังส่งผลทำให้การจับจ่ายใช้สอยและกำลังการซื้อของประชาชนลดลง รวมทั้งหลายธุรกิจในภาคอุตสาหกรรมและบริการต้องหยุดชะงักลง แม้ว่าภาครัฐจะมีมาตรการออกมาช่วยเหลือแต่ผู้ประกอบการก็ยังมีความจำเป็นต้องปรับกลยุทธ์ของตนเพื่อให้ธุรกิจดำเนินกิจการต่อไปได้ สำหรับการพัฒนาการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรหลังสถานการณ์แพร่ระบาด ผู้ประกอบการสามารถนำรูปแบบการดำเนินการที่หลากหลายมาใช้ตามศักยภาพและความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ รวมถึงการนำนวัตกรรมมาใช้สร้างความแตกต่างให้กับการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยการนำเสนอแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรให้มีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น การสร้างจุดขายผ่านกลยุทธ์การสื่อสารการตลาด 5A ตลอดจนการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยเชื่อมโยงภาคการเกษตรและวิถีชุมชนให้เข้ากันกับการท่องเที่ยว

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2557). การท่องเที่ยวเชิงเกษตร. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2564). สถิตินักท่องเที่ยว. สืบค้นจาก https://www.mots.go.th/news/category/628.

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (ม.ป.ป.). สถิตินักท่องเที่ยว. สืบค้นจากhttp//www.tat.or.th/stat/ download/tst/702/Repor_Phathumthani2007.doc.

กรุงเทพธุรกิจ. (2565). จ่อชง ครม.เคาะ เราเที่ยวด้วยกัน เฟส 5!!. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/business/economic/1035051.

ขวัญกมล ดอนขวา และ จิตตานันท์ ติกุล. (2557.) การพัฒนาคุณภาพการท่องเที่ยวเชิงเกษตรใน

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี, 8(1), 55-71.

คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์. (2564). ผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทยจากโรคติดต่อเชื้อ

โคโรนาไวรัส (COVID-19) และข้อเสนอแนะเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาภาคเกษตรภายใต้

แผนยุทธศาสตร์ชาติตามสถานการณ์. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.

จิตรลดา ตรีสาคร และ กฤษดา เชียรวัฒนสุข. (2565). การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่

ช่วยยกระดับการมีส่วนร่วม และศักยภาพการท่องเที่ยวของชุมชนในจังหวัดปทุมธานี. วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า, 9(1), 111-124.

ญาณิศา ยอดสิน, กนกวรรณ ศรมณี และ โชติ บดีรัฐ. (2564). วิกฤติโควิด-19 การเปลี่ยนแปลงภาคการเกษตรไทยสู่วิถีชีวิตใหม่ (New Normal). Journal of Roi Kaensarn Academi, 6(12), 318-328.

ฐานเศรษฐกิจออนไลน์. (2563). ผลวิจัยชี้ คนไทยเลือกขับรถท่องเที่ยว เลี่ยงโควิด-19. สืบค้นจาก https://www.thansettakij.com/content/motor/445958.

ฐานเศรษฐกิจออนไลน์. (2564). “อุทัย” ชง “นายกรัฐมนตรี” ของบแสนล้าน ดึงคนตกงานทำอาชีพเกษตร แก้ปัญหาเศรษฐกิจ จาก “COVID-19” ระลอก 3. สืบค้นจาก https://www.thansettakij.com/general-news/479207

เถลิงศักดิ์ ชัยชาญ. (2556.) การพัฒนาคุณภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (รายงานการวิจัย). นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

ธนรักษ์ ผลิพัฒน์. (2563). คาดตัวเลขจริงทั่วโลก ป่วย ‘โควิด-19’ ทะลุ100 ล้านคน. สืบค้นจาก https://www.dailynews.co.th/politics/798442

ธีรกิติ นวรัตน ณ อยุธยา. (2547.) การตลาดสำหรับการบริการ: แนวคิดและกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พจน์ ใจชาญสุขกิจ. (2560). สื่อสารบริหารแบรนด์ และพีอาร์ อย่างไรในยุค Marketing 4.0. สืบค้นจาก https://www.prthailand.com/images/articles/170809-1-expertcommu.pdf

เพ็ญทิพย์ อุนากรสวัสดิ์. (2556). รูปแบบและกลยุทธ์การตลาดออนไลน์ เว็บไซต์ เด็กดีดอทคอม.

(การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ.

เพียงฤทัย เสงี่ยมศิลป์ และคณะ. (2561). การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

ตำบลวังยาว อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี (รายงานวิจัย). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.

ฟิลิป คอตเลอร์, เหมะวัน การตะจายา และ ไอวัน เซเตียวาน. (2017). การตลาด 4.0. แปลโดย

ณงลักษณ์ จารุวัฒน์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เนชั่นบุ๊คส์.

มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด. (2563). ทิศทางท่องเที่ยวไทย หลังวิกฤตโควิด-19. รายงานภาวะเศรษฐกิจ

การท่องเที่ยว, 1(4), 42-53.

เมธาวี กิจเกษตรกุล และ ณิฐสินี ขินธนภูมิไพศาล. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติในการเลือก

ใช้บริการบริษัทนำเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในเขตกรุงเทพมหานครในช่วงก่อนและระหว่างสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 และแนวทางการปรับตัวของบริษัทนำเที่ยว. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 17(61), 56-66.

รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร. (2558). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรเพื่อความยั่งยืน: โครงการหลวง ปางดะ. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี, 9(1), 19-35.

ระพีพรรณ ทองห่อ. (2546). ลักษณะการใช้จ่ายเงินเพื่อซื้อผลิตภัณฑ์และความต้องการใช้บริการของนักท่องเที่ยวต่างประเทศเพื่อการท่องเที่ยวในประเทศไทย (รายงานการวิจัย).

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. (2554). การท่องเที่ยวเชิงเกษตร. สืบค้นจาก http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/04090035_2202/multiweb/agrotour/prapeat.htm

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. (2544). การศึกษาเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาและจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร. กรุงเทพฯ: ฝ่ายบริการอุตสาหกรรมและที่ปรึกษา สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย.

สุกันยา คงเขียว, กนก เลิศพานิช, วรัญญา อรัญวาลัย และ อภิศักดิ์ โพธิ์ปั้น. (2561). ความต้องการสื่อในการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรหมู่บ้านไม้ดอกไม้ประดับคลอง 15 อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า, 36(1), 12-20.

สุทธิชัย ปัญญโรจน์. (2559). 10 กลยุทธ์ทางการตลาด. สืบค้นจาก https://www.gotoknow.org

สุภางค์ จันทวานิช. (2554). ทฤษฎีสังคมวิทยา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภาภรณ์ พรหมบุตร. (2563). New Normal กับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง. สืบค้นจาก https://dsp.dip.go.th/en/category/

สาวิตรี รินวงษ์. (2563). คนไทยรอการเดินทางฟื้นธุรกิจ ท่องเที่ยวหลังโควิด. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2559). KOFC เปิดมุมวิเคราะห์รายได้ภาคเกษตร หลังรัฐดันท่องเที่ยวเชิงเกษตรไทยช่วงวันหยุดยาว. สืบค้นจาก https://www.ryt9.com/s/prg/2464477.

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). COVID-19 กับผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย สถานการณ์การท่องเที่ยวของประเทศไทย ไตรมาส 1/2563. รายงานภาวะเศรษฐกิจการท่องเที่ยว, 1(4), (กรกฎาคม - กันยายน).

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

เสาวณี จันทะพงษ์ และ ทศพล ต้องหุ้ย. (2563). ผลกระทบวิกฤต COVID-19 กับเศรษฐกิจโลก.

สืบค้นจาก http//www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/ Articles_18Mar2020.aspx

อภิษฎา ดินม่วง และ กฤษดา เชียรวัฒนสุข. (2561). E-CRM: การบริการลูกค้าสัมพันธ์ในยุคสังคมดิจิทัลของธุรกิจศัลยกรรมความงาม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 8(3), 20-30.

Brinca, P. et al. (2020). Measuring Sectoral Supply and Demand Shocks during COVID-19. Retrieved from https://is.gd/nLuUlB

Carpio, C.e., Wohlgenant, M.K., and Boonsaeng, T. (2008). the Demand for agritourism in the United States. Journal of Agricultural and Resource Economics, 33(2),

-269.

Department of Disease Control (DDC). (2020). COVID-19 Situation Report. Retrieved from https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/situation.php

Kotler, Philip. (2016). Marketing 4.0 Moving from Traditional to Digital. Hoboken, New Jersey: John Wiley & Sons.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-30