การพัฒนากลยุทธ์การสร้างแบรนด์ท่องเที่ยวเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก

ผู้แต่ง

  • ธีระวัฒน์ จันทึก คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
  • ปวีณา สปิลเลอร์ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
  • ปภาวิน พรชโชติสุธี คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
  • ธงชัย ทองมา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

คำสำคัญ: กลยุทธ์การสร้างแบรนด์, การท่องเที่ยว, เขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างแบรนด์และพัฒนากลยุทธ์การสร้างแบรนด์ทางการท่องเที่ยวเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก
ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวและชุมชนที่ดำเนินกิจกรรมทางการท่องเที่ยวในพื้นที่ท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก ได้แก่ จังหวัดระนอง ชุมพร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่อการสร้าง แบรนด์ทางการท่องเที่ยวเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก ได้แก่ ผู้บริหารและ ผู้ปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานจังหวัด สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยว เป็นต้น ตลอดจนนักวิชาการด้านการตลาด การสร้างแบรนด์ และด้านการท่องเที่ยว
ผลการวิจัย พบว่า องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างแบรนด์ท่องเที่ยวเขตพัฒนา การท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก ประกอบด้วย 2 กลุ่ม ได้แก่ ความสบายกาย และความสบายใจ และพบว่า พื้นที่ท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดชุมพร และจังหวัดระนอง มีกลยุทธ์การสร้างแบรนด์ท่องเที่ยวเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก ประกอบด้วย ACTION BEACH PREMIUM BEACH PEACE BEACH และ กลยุทธ์ PERFECT BEACH ตามลำดับ

References

กนกกานต์ วีระกุล และคณะ. (2556). การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับอาหาร (Route of Gastronomic Tourism) (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.

กฤชณัท แสนทวี. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อชื่อเสียงองค์กรและการจัดการชื่อเสียงองค์กรธุรกิจ ในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

เกรียงไกร วัฒนาสวัสดิ์. (ม.ป.ป.). ความคิดเห็นและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวต่อความจริงแท้ในการ จัดการ การท่องเที่ยวเชิงโหยหาอดีต: กรณีศึกษาชุมชนตลาดสามชุกร้อยปี จังหวัดสุพรรณบุรี. ดำรงวิชาการ,

-135.

ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์. (2542). สุขศึกษากับโรคเบาหวาน: การทบทวนองค์ความรู้ สถานการณ์และรูปแบบการให้บริการสุขศึกษา. นนทบุรี : สำนักพัฒนาวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.

ณรงค์ ศรีเกรียงทอง และ ธีระวัฒน์ จันทึก. (2559). วิธีการพัฒนาตัวชี้วัดแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์

แบบเรียลไทม์สำหรับสร้างแรงจูงใจให้แก่พนักงานที่ปรึกษางานขายและความงาม.

Veridian E-Journal, 9(1), 100-120.

ดวงกมล ผ่องพรรณแข และ ธีระวัฒน์ จันทึก. (2561). การพัฒนาระบบปฏิบัติงานโรงแรมด้วยนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์เพื่อยกระดับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในอนาคต. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 12(1), 88-102.

ธนวรันณ์ จงจิตต์ธนบูรณ์. (2551). การสื่อสารทางการตลาดแบบ บูรณาการ (IMC) ของบริษัทยา

ที่มีผลต่อการรับรู้คุณค่าตราสินค้าของแพทย์ในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.

บุญดี บุญญากิจ และ กมลวรรณ ศิริพานิช. (2543). Benchmarking ทางลัดสู่ความเป็นเลิศทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.

บุริม โอทกานนท์. (2552). แนวคิดเกี่ยวกับความภักดีในตรสินค้า. ประชาชาติธุรกิจ, 33(4157).

ประสพชัย พสุนนท์. (2553). สถิติธุรกิจ. กรุงเทพฯ : ท้อป.

ประสิทธิ์ ตันสุวรรณ และ บุญดี บุญญากิจ. (2548). เกณฑ์การบริหารจัดการเพื่อความเป็นเลิศ.กรุงเทพฯ:

จิรวัฒน์ เอ็กซ์เพรส.

ปวีณา สปิลเลอร์ และ พิทักษ์ ศิริวงษ์. (2560). รูปแบบ สภาพปัญหา และแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการงานเลขานุการทางการแพทย์ของโรงพยาบาลเอกชนขนาดกลางในกรุงเทพมหานคร. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 9(4), 166-188.

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ. (2542) Benchmarking :ทฤษฎีบริหารที่กลมกลืน Benchmarking และ TQM. กรุงเทพฯ: พีระเซลแอนด์เซอร์วิส.

มนัสสินี บุญมีศรีสง่า. (2556). การสร้างอัตลักษณ์แบรนด์แหล่งท่องเที่ยวอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในมุมมองนักท่องเที่ยวกลุ่มวัยรุ่น. Veridian E-Journal, 6(1), 548-560.

วารัชต์ มัธยมบุรุษ. (2552). รูปแบบการบริหารจัดการท่องเที่ยวสำหรับนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่นที่พำนักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม่. (ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่.

วิภาวรรณ ปิ่นแก้ว. (2551). การศึกษาเพื่อเสนอเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์. (2560). การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้านทุนมนุษย์ในอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและบริการของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2546). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ศุภร เสรีย์รัตน์, องอาจ ปทะวานิช และ ปริญ ลักษิตานนท์. (2546). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: ธีระฟิลม์และไซเท็กซ์.

สุภาภัทร ดิลกไชยชาญวุฒิ. (2547). การเปรียบเทียบคุณค่าแบรนด์ระดับโลกและแบรนด์ท้องถิ่น.(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

สุภาภัทร ดิลกไชยชาญวุฒิ. (2547). ผลงานของการวางผลติภัณฑ์ต่อผู้บริโภค: บททบทวนเบื้องต้น. วารสารนิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 22(4), 12-31.

เสริมยศ ธรรมรักษ์. (2549). การสื่อสารแบรนด์= communications (พิมพ์ครั้งที่ 5). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

อรรธิกา พังงา, ศรีสุดา จงสิทธิผล, เสรีวงษ์มณฑา และ ชุษณะ เตชคณา. (2560). การสร้างตราสินค้าเมืองท่องเที่ยว เพื่อการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน กรณีศึกษา การท่องเที่ยว

เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. วารสารและวิจัยพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 12(39), 26-30.

อภิสิทธิ์ ฉัตรทนานนท์ และ ลักขณา ลีละยุทธโยธิน. (2548). การสร้างภาพลักษณ์ตราสินค้าเครื่องมือเชิงกลยุทธ์สู่ชัยชนะในสงครามการตลาดปัจจุบัน. วารสารบริหารุรกิจ, 28(105), 57.

Aaker, D. A. (1991). Managing brand equity: Capitalizing on the value of a brand name. New York, NY: Free Press.

Anholt, S. (2008). From Nation branding to competitive identity-The role of brand management as a component of national policy. In K. Dinnie (Ed.), Nation branding: concepts, issues, practice. (pp.22–23). Oxford, UK: Butterworth-Heinemann.

Arthur G. Tweet and Karol Gavin-Marciano. (1998). The Guide to Benchmarking in Healthcare. New York: Quality Resources.

Blain, C., Levy, S. E. & Ritchie, J.R.B. (2005). Destination branding: insights and practices from destination management Organizations. Journal of Travel Research, 43, 328-338. doi: 10.1177/0047287505274646.

Chung, Lee and Robert. (2008). Public relations aspects of brand attitudes and customer activity. Public Relations Review, 12(39), 432–439.

Hosany, S., Ekinci, Y. & Uysal, M., (2006). Destination image and destination personality:

an application of branding theories to tourism places. Journal of Business Research, 59, 638-642.

Kim, N. and Chalip, L. (2004). “Why travel to FIFA world cup? Effects of motives, background, interest, and constraints”. Tourism Management, 25, 695-707.

Kotler, P. (2009). Marketing management analysis, planning and control (10th ed.).

New Jersey: Prentice Hall.

Kotler, P., & Armstrong, G. (2001). Principles of marketing (9th ed.). New Jersey:

Prentice-Hall.

Maesincee, S., Nuttavuthisit, K., Ayawongs, A., & Phasukvanich, N. (2003). Branding Thailand: Building a Favorable Country Image for Thai Products and Services. Sasin Journal of Management, 9(1), 21-26.

Nuttavuthisit, K. (2007). Branding Thailand: Correcting the negative image of sex tourism. Place Branding and Public Diplomacy, (3), 21-30.

Pizam A. & Mansfield Y. (Eds). (1999). Consumer behavior in travel and tourism.

New York: Haworth Press.

Pizam A. & Mansfield Y. (Eds.) (1996). Tourism, Crime and International Security Issues. England: John Wiley and Sons.

Sonmez, F. S., Apostopoulos, Y. and Peter Tarlow. (1999) Tourism in Crisis: Managing the Effects of Terrorism. Journal of Travel Research, 38, 13-18.

Thepprasit, B., Threedeach, S., Netchu, K., Srilekha, A., & Chantuk, T. (2021). GUIDELINES FOR POTENTIAL BUILDING TOURIST DESTINATION IN SUANPUNG RATCHABURI. Dusit Thani College Journal, 15(2), 297-313.

Rajesh, R. (2013). Impact of Tourist Perceptions, Destination Image and Tourist Satisfaction on Destination Loyalty: A Conceptual Model., Revista de Turismo y Patrimonio Cultural, 11(3), 67-78.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-29