แนวทางการเสริมประสิทธิภาพการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้วยระบบสารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)
DOI:
https://doi.org/10.60101/mmr.2023.265907คำสำคัญ:
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ , การประเมินผลการปฏิบัติงาน, ระบบสารสนเทศทรัพยากรมนุษย์บทคัดย่อ
การเสริมประสิทธิภาพการประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยระบบสารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ มีความสำคัญอย่างมากต่อการบริหารจัดการองค์การในปัจจุบัน เนื่องจากเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ขององค์การ ในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลทำให้หลายองค์การตระหนักถึงการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนินงานให้มีความคล่องตัว รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ยังช่วยลดอคติที่เกิดขึ้นจากมนุษย์ ทำให้ผลการประเมินการปฏิบัติงานมีความยุติธรรมสูงซึ่งนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่เหนือกว่าในอดีต อีกทั้งยังช่วยลดภาระงานเอกสารและการใช้ทรัพยากรที่สูญเปล่า ดังนั้นองค์การทั้งภาครัฐและเอกชนต่างมีการจัดหาและลงทุนในเทคโนโลยีดังกล่าว โดยอาจใช้การจัดซื้อจัดจ้างหรือการพัฒนาระบบภายในองค์การเองให้สอดคล้องกับความต้องการ
ด้วยเหตุนี้ สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน) จึงมีความต้องการที่จะเสริมประสิทธิภาพการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยนำระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์มาช่วยในงานด้านทรัพยากรมนุษย์ จากเดิมที่เคยประเมินโดยใช้รูปแบบของเอกสารกระดาษ ซึ่งมีความล่าช้าและเกิดความผิดพลาดในการจัดทำข้อมูลสรุป เมื่อมีการนำระบบสารสนเทศทรัพยากรมนุษย์มาใช้ส่งผลให้เกิดความเป็นมาตรฐานที่น่าเชื่อถือและมีความถูกต้องแม่นยำ อันจะส่งผลให้การประเมินผลการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ปราศจากอคติและเกิดความเป็นธรรมแก่บุคลากรทุกระดับ
References
คณะอนุกรรมการด้านกฎหมาย. (2563). ข้อบังคับคณะกรรมการสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ว่าด้วยการบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2563. สืบค้นจาก https://www.wisdomking.or.th/files/media_ manager/ 12075f8459499dd19b4bc0eed7ccbf39/About_Us/ITA/law/rules-4.pdf
______________________. (2563). ข้อบังคับคณะกรรมการสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2563. สืบค้นจาก https://www.wisdomking.or.th/ files/media_manager/12075f8459499dd19b4bc0eed7ccbf39/About_Us/ITA/law/rules-8.pdf
จิรวัฒน์ ทิพยรส, บัญฑิต ไวว่อง และ จุรีรัตน์ ว่องปลูกศิลป์. (2563). การประเมินผลการปฏิบัติงานในยุคดิสรัปชั่น. วารสารวิชาการสถาบันวิชาการจัดการแห่งแปซิฟิคสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7(2), 448-462.
นพดล เจนอักษร. (2559). การประเมินผลการปฏิบัติ. วารสารบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 6(2), 261-264.
ภณิดา วรจันทร์. (2561). รูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานตามความคิดเห็นของข้าราชการพลเรือนสามัญในสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 13(3), 410-420.
ภาวิน ชินะโชติ, ทองฟู ศิริวงศ์, ภาณุ ชินะโชติ, ภาวิทย์ ชินะโชติ และ พระมหาทองเชิด กตปุญฺโญ. (2562). ระบบสารสนเทศในงานด้านทรัพยากรมนุษย์. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร, 10(1), 180-191.
ภิราช รัตนันต์. (2560). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ร่วมสมัยในองค์การ. วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 1(1), 21-38.
มณีรัตน์ ชัยยะ และ เพ็ญศรี ฉิรินัง. (2566). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภายใต้การเปลี่ยนแปลงสู่ยุคดิจิทัล (Digital HR). วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ, 1, 104-115.
ยศสินี วิพัชนานนท์, บุญมี พันธุ์ไทย, สุวพร เซ็มเฮง และ ศักดิ์สิทธิ์ ขัตติยาสุวรรณ. (2565). การพัฒนารูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 12(2), 441-453.
ฤทัยรัตน์ กรมไธสง และ พิสิฐโอ่งเจริญ. (2565). การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ทางการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์. วารสารวิชาการสังคมมนุษย์, 12(2), 60-75.
วิชุดา สร้อยสุด, เมธินี อินทร์บัว, จีรภา มิ่งเชื้อ, ยุวดี เคน้ำอ่าง และ โชติ บดีรัฐ, (2564). การจัดการทรัพยากรมนุษย์หัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนองค์การยุคปัจจุบัน. Journal of Modern Learning Development, 6(5), 341-350.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (ม.ป.ป.). ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน. สืบค้นจากhttps://www.ocsc.go.th/pm
สุคนธ์ทิพย์ คำจันทร์ และ ประภาพร กุลลิ้มรัตน์ชัย. (2565). การประยุกต์ใช้ User Interface (UI) และ User Experience (UX) ในการออกแบบแพลตฟอร์ม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชียฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 16(2), 63-77.
สุจิตรา พงศ์พิศุทธิ์โสภา, โษฑศ์รัตต ธรรมบุษดี และ โรจลักษณ์ จักรไพวงศ์. (2561). การวิเคราะห์ด้านทรัพยากรมนุษย์: วิวัฒนาการ การปรับตัวขององค์กร บทเรียน และแนวโน้มในอนาคต. วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, 10(1), 126-162.
สุรารักษ์ สุพัฒนมงคล และ วรปภา มหาสำราญ, (2565). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ยุควิถีชีวิตถัดไป
สู่ยุคเทคโนโลยีดิจิทัล. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 24(3), 237-249.
องอาจ นัยพัฒน์. (2558). การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษา : กรอบแนวคิด และแนวทางปฏิบัติเพื่อการพัฒนา. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 21(1), 15-31.
ADP. (n.d.). RUN Powered by ADP® payroll and HR platform. Retrieved from https://www.adp.com/what-we-offer/products/run-powered-by-adp.aspx
Armstrong, M. (2016). Armstrong's Handbook of Performance Management: An Evidence-Based Guide to Delivering High Performance. London: Kogan Page.
Clark, B. (2022). Emerging Trends in HRIS for Performance Evaluation and Talent Development. Journal of Organizational Psychology, 35(2), 56-72.
DeNisi, A., & Murphy, K. (2017). Performance Appraisal and Performance Management: 100 Years of Progress?. Journal of Applied Psychology, 102(3), 421-433.
Edwards, M. R., & Ewen, A. J. (2017). Performance Management and Appraisal: A How-To-Do-It Manual for Librarians. New York: Neal-Schuman.
HCM Technology Report. (2019). Kronos enhances analytics, time-clock products. Retrieved from https://www.hcmtechnologyreport.com/kronos-enhances-analytics-time-clock-products/
Kluger, A. N., & DeNisi, A. (2018). Feedback Interventions: Toward the Understanding of a Double-Edged Sword. Annual Review of Psychology, 69, 307-330.
Martinez, L. (2023). The Future of HRIS in Performance Evaluation and Human Capital Management. Human Resource Management Review, 50(3), 125-140.
Netcash. (n.d.). Sage payroll. Retrieved from https://netcash.co.za/partners/sage-payroll/
Pulakos, E. D. (2018). Performance Management: A New Approach for Driving Business Results. New York: Routledge.
Software Advice. (n.d.). Clear company. Retrieved from https://www.softwareadvice.com/hr/
hrm-direct-profile/
Stone, D. L., & Deadrick, D. L. (2015). Challenges and Opportunities Affecting the Future of Human Resource Management. Human Resource Management Review, 25(2), 139-145.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้นิพนธ์
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณาจารย์ท่านอื่น ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว