ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ด้านการยอมรับสำหรับเทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • วรัท พันธุ์พิศุทธิ์ชัย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ธีรารัตน์ วรพิเชฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

DOI:

https://doi.org/10.60101/mmr.2023.267076

คำสำคัญ:

รถยนต์ไฟฟ้า , การยอมรับเทคโนโลยี , ความตระหนักในปัญหาสิ่งแวดล้อม , ทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

บทคัดย่อ

งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ด้านการยอมรับสำหรับเทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย มีเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริโภคที่ใช้รถยนต์ไฟฟ้าที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย เป็นจำนวน 422 ตัวอย่าง โดยใช้สถิติ การทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม (t-test) การทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยระหว่างตัวแปรมากกว่า 2 กลุ่ม (F-test) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ

จากการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเพศชายร้อยละ 49.3 และเป็นเพศหญิงร้อยละ 50.7 โดยส่วนมากมีอายุในช่วง 50 - 59 ปี คิดเป็นร้อยละ 28.2 มีระดับรายได้อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 39.8 ซึ่งอยู่ในช่วง 35,000 - 75,000 บาท ประกอบอาชีพเป็นพนักงานหรือผู้บริหารบริษัทเอกชนร้อยละ 36.7 สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าเป็นร้อยละ 55 เป็นผู้สมรสแล้วคิดเป็นร้อยละ 48.8 และมีสมาชิกที่อาศัยร่วมกัน 3 - 5 คน คิดเป็นร้อยละ 46.2 และจากผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ผู้บริโภคที่มีอาชีพ ระดับการศึกษา และวัตถุประสงค์หลักในการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้าที่แตกต่างกัน มีค่าเฉลี่ยของการรับรู้ว่ามีประโยชน์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในด้านของผู้บริโภคที่มีเพศและความถี่ในการใช้รถยนต์ต่อสัปดาห์ที่แตกต่างกัน มีค่าเฉลี่ยของการรับรู้ว่าง่ายต่อการใช้งานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในส่วนของทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการรับรู้เทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้าทั้งในด้านการรับรู้ว่ามีประโยชน์และการรับรู้ว่าง่ายต่อการใช้งานโดยมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

References

กรุงเทพธุรกิจ. (2565). สภาอุตฯคาดยอดส่งออก ‘รถ’ พุ่งล้านคัน. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/business/1007385

กลุ่มสถิติการขนส่ง กองแผนงาน กรมการขนส่งทางบก. (2565). จำนวนรถจดทะเบียนสะสม ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2565. สืบค้นจาก https://web.dlt.go.th/statistics/

กิตติภูมิ มีประดิษฐ์. (2559). การพัฒนาที่ยั่งยืน: การประสานงานที่เป็นธรรมระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม. Industrial technology review, 22(284), 99-101.

จันทนา กองแก้ว. (2558). พฤติกรรมการใช้รถยนต์และปัจจัยในการตัดสินใจซื้อรถยนต์ของผู้บริโภคในจังหวัดเพชรบุรี. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด, กรุงเทพฯ.

ชญาดา ทรัพย์เกิด. (2558). กระบวนการรับรู้ภาพลักษณ์ของลูกค้าที่มีความสัมพันธ์ต่อทัศนคติ

ในการใช้บริการสินเชื่อเคหะของธนาคารออมสิน เขตบางแค กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.

ณิชากร ซุ้นสุวรรณ, สุระพรรณ์ จุลสุวรรณ์ และ ชูตา แก้วละเอียด. (2558). พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อประกันภัยรถยนต์นั่งส่วนบุคคลในอําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ครั้งที่ 3” (น. 172-180). สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

ธนเดช สุวรรณโชติ และ พิพัฒน์ นนทนาธรณ์. (2563). คุณลักษณะของรถยนต์ไฟฟ้าที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสมาคมนักวิจัย, 25(2), 361-373.

บุรฉัตร จันทร์แดง, เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร และ สัญญา เคณาภูมิ. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19(4), 235-244.

ปภัค อุดมธรรมกุล, ธัญญา สุพรประดิษฐ์ชัย และ สิทธิกรณ์ คำรอด. (2563). ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ปัจจัยทางจิตวิทยา ปัจจัยทางสังคม และส่วนประสมทางการตลาด 7Ps ที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการศูนย์ออกกำลังกาย ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 12(3), 25-38.

พีพีทีวีเอชดี36. (2565). ยอดจดทะเบียนรถอีวีสะสมในไทย 17,026 คัน เพิ่มขึ้น 118.79%

จากปีก่อน. สืบค้นจาก https://www.pptvhd36.com/automotive/news/174909

รชฏ เลียงจันทร์. (2565). รถยนต์ไฟฟ้า: ความต้องการและโอกาสที่กำลังมาถึง. สืบค้นจาก https://www.krungsri.com/th/research/research-intelligence/ev-survey-22

รุ่งกมล แซ่ลิ้ม. (2559). การวางตำแหน่งและความรู้ต่อตราที่ส่งผลต่อทัศนคติและความตั้งใจซื้อรถยนต์ตราที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, ปทุมธานี.

วนิตา บุญพิรักษ์. (2565). ยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle: xEV) กับอุตสาหกรรมดิจิทัล. สืบค้นจาก https://www.depa.or.th/th/article-view/electric-vehicle-xev-07102021

วริษฐา ดินอุดม. (2562). การยอมรับเทคโนโลยีและความตั้งใจจะใช้รถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภค

ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สเปซบาร์. (2566). พร้อมหรือยังที่ EV จะเป็นวิถีชีวิตใหม่ของคนไทย. สืบค้นจาก http://spacebar.th/

สถาบันพลังงาน มช. (2564). รถยนต์ไฟฟ้า EV คืออะไร. สืบค้นจาก https://erdi.cmu.ac.th/?p=2956

สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน. (2565). สถานการณ์ราคาน้ำมัน. สืบค้นจาก http://www.eppo.go.th/index.php/th/petroleum/oil/status-oil-price?orders[publishUp]=publishUp&issearch=1

สุนีรัตน์ ปิ่นตุรงค์. (2563). ทัศนคติและพฤติกรรมต่อการตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค

ในประเทศไทย. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม.

หนึ่งฤทัย รัตนาพร. (2562). การศึกษาปัจจัยด้านทัศนคติต่อการเลือกซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของกลุ่มคน

เจนเนอเรชั่น X และ Y ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

อัฐภิญญา ปัทมภาสสกุล. (2560). ปัจจัยความตระหนักเรื่องสิ่งแวดล้อม สุขภาพ รูปลักษณ์ภายนอก ความรู้เรื่องนิเวศวิทยา และอิทธิพลระหว่างบุคคลที่ส่งผลต่อทัศนคติ และความตั้งใจซื้อเครื่องสําอางธรรมชาติของสตรีในกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, ปทุมธานี.

อิทธิกร ทรงศักดิ์ราตรี และ วีรศักดิ์ ประเสริฐชูวงศ์. (2565). การศึกษาปัจจัยด้านทัศนคติและ

ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์พลังงานไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ (BEV) ของกลุ่มคนวัยทำงานในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม, 2(1), 89-106.

เอกวัฒน์ พันธาสุ และ มนสิชา เพชรานนท์. (2554). พฤติกรรมการเดินทางในเมืองหลักของภูมิภาค: กรณีศึกษา เมืองเชียงใหม่. วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 10(1), 74-91.

เอกวิทย์ ระกำ, พัฒน์ พัฒรังสรรค์ และ จีรศักดิ์ พงษ์พิษณุพิจิตร์. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้า. ใน การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 22 (น. 1101-1108). มหาวิทยาลัยศรีปทุม, กรุงเทพฯ.

ไอลดา ธรรมสังข์. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้รถยนต์ไฟฟ้าของประชาชนในจังหวัดชลบุรี. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ.

Arthur, D. L. (2565). GLOBAL ELECTRIC MOBILITY READINESS INDEX GEMRIX 2022. Retrieved from https://www.adlittle.com/en/insights/report/global-electric-mobility-readiness-index-gemrix-2022

Chen, Y. S., Lin, C. Y., and Weng, C. S. (2015). The Influence of Environmental Friendliness on Green Trust: The Mediation Effects of Green Satisfaction and Green Perceived Quality. Sustainability, 7(8), 10135-10152. Retrieved from https://www.mdpi.com/2071-1050/7/8/10135

David, G. M., Kageni, N., Bernard, C., and Jared, O. M. (2017). The Technology Acceptance Model (TAM) and its Application to the Utilization of Mobile Learning Technologies. British Journal of Mathematics & Computer Science, 20 (4), 1-8.

Davis, F. D. (1989). Perceived Usefulness, Perceived Ease of Use, and User Acceptance of Information Technology. MIS Quaterly, 13(3), 319-340.

Good, C. V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill.

International Energy Agency. (2565). Global EV Data Explorer. Retrieved from https://www.iea.org/data-and-statistics/data-tools/global-ev-data-explorer

Jugessur, Y. S.M.F. (2022). Reliability and Internal Consistency of data: Significance of Calculating Cronbach’s Alpha Coefficient in Educational Research. International Journal of Humanities and Social Science Invention, 11(4), 9-14. doi: 10.35629/7722-1104030914

Kotler, P., and Armstrong, G. M. (2012). Principles of Marketing (14 ed.). New Jersy: Prentice Hall.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-18

How to Cite

พันธุ์พิศุทธิ์ชัย ว. ., & วรพิเชฐ ธ. . (2023). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ด้านการยอมรับสำหรับเทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 10(2), 133–155. https://doi.org/10.60101/mmr.2023.267076