การสำรวจความพร้อมของจังหวัดอุดรธานีกับการเป็นเจ้าภาพ จัดงานพืชสวนโลกในปี 2569

ผู้แต่ง

  • ศิริวรรณ สนั่นเอื้อ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • สันติธร ภูริภักดี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

DOI:

https://doi.org/10.60101/mmr.2024.267604

คำสำคัญ:

ศักยภาพความพร้อม , การจัดงานพืชสวนโลก , จังหวัดอุดรธานี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิทยาการกรณีศึกษาเฉพาะ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาศักยภาพความพร้อมในการจัดงานพืชสวนโลกจังหวัดอุดรธานี ปี 2569 (2) ศึกษาแนวทางการเตรียมความพร้อมในการจัดงานพืชสวนโลกจังหวัดอุดรธานี ปี 2569 คัดเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 23 ราย โดยเก็บข้อมูลด้วยการศึกษาเอกสาร สัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต และการจดบันทึก ผลการวิจัย พบว่า (1) ศักยภาพความพร้อมในการจัดงานพืชสวนโลก ประกอบด้วย
5 ด้าน คือ (1.1) ด้านสถานที่จัดงาน ร้านอาหาร โรงแรมและที่พัก ร้านของที่ระลึก และสถานที่ท่องเที่ยว (1.2) ด้านบุคลากร ความปลอดภัย การบริการ และสิ่งอำนวยความสะดวก (1.3) ด้านโอกาสทางธุรกิจ และประโยชน์สู่ชุมชน (1.4) ด้านกระบวนการส่งเสริมการจัดงานจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และการสร้างการรับรู้กับภาคประชาชน และ (1.5) ด้านผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (2) แนวทางการเตรียมความพร้อมในการจัดงานพืชสวนโลก ประกอบด้วย 4 แนวทาง คือ (2.1) การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน (2.2) การมีบุคลากรที่มีคุณภาพ และมีประสบการณ์ในการทำงาน (2.3) การเตรียมพันธุ์พืชให้มีความเพียงพอในการจัดงาน และ (2.4) การวางแผนการตลาด และการประชาสัมพันธ์

ผลการวิจัยครั้งนี้บ่งชี้ถึงองค์ประกอบสำคัญที่จะเป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมสำหรับการจัดงานพืชสวนโลก ซึ่งภาครัฐ ภาคเอกชน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรตระหนัก และให้ความสำคัญในการวางแผน เพื่อให้การจัดงานมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์กับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และอุตสาหกรรมบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2566). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 - 2570). สืบค้นจาก https://secretary.mots.go.th/more_news.php?cid=60

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2566). สถิติการท่องเที่ยวปี 2566. สืบค้นจาก https://www.mots.go.th/news/category/704

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2566). ไทยพร้อมเป็นเจ้าภาพจัดงานมหกรรมพืชสวนโลกจังหวัด อุดรธานี พ.ศ. 2569. สืบค้นจาก https://www.moac.go.th/news-preview- 441991792898

ดุษฎี ช่วยสุข และ ดลฤทัย โกวรรธนะกุล. (2558). การพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมไมซ์ในจังหวัดขอนแก่นเพื่อรองรับการเป็นไมซ์ซิตี้ของประเทศไทย. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย,10(1), 15-29.

นุช สัทธาฉัตรมงคล, เกิดศิริ เจริญวิศาล และ พิทักษ์ ศิริวงศ์. (2562). แนวทางการพัฒนาทุนมนุษย์ของบุคลากรระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมไมซ์. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 11(1), 146-162.

ประพนธ์ เล็กสุมา, พัชรมน โตสุรัตน์, อารีรัตน์ ฟักเย็น และ สิริพร เขตเจนการ. (2023) การพัฒนา การตลาด และการขายโปรแกรมไมซ์ชุมชนแบบบูรณาการ สำหรับนักท่องเที่ยวคุณภาพสูงกลุ่มไมซ์. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(1), 357-378.

วีระยุทธ เศรษฐเสถียร. (2560). ศักยภาพและความพร้อมของเมืองเชียงใหม่กับธุรกิจการจัดประชุมไมซ์. วารสารบัณฑิตวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, 8(1), 199-125.

สมาคมพืชสวนระหว่างประเทศ. (2566). เกี่ยวกับ AIPH. สืบค้นจาก https://aiph.org/about

สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ. (2565). การจัดงานเมกะอีเวนต์และเทศกาล นานาชาติ. กรุงเทพฯ: กู๊ดเฮดพริ้นติ้งแอนด์แพคเกจจิ้ง.

สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ. (2566). บริการด้านนวัตกรรม. สืบค้นจาก https://intelligence.businesseventsthailand.com/th

สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ. (2566). ประเทศไทยได้รับเลือกเป็นเจ้าภาพจัดมหกรรมพืชสวนโลก 2569 ที่อุดรธานี แลนด์มาร์คอีเวนต์ครั้งแรกในอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง. สืบค้นจาก https://www.businesseventsthailand.com/th/press media/news- press-release/detail/1386

สำนักงานองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี. (2566). แผนพัฒนาจังหวัดอุดรธานี (พ.ศ. 2566-2570). สืบค้นจาก http://www.udonthanilocal.go.th/system_files/256/d9666fa 5dddc3130144d36dcd785c97a.pdf

อโณทัย หาระสาร, ปราโมทย์ นามวงศ์ และ เจริญ โสภา. (2564). แนวทางการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวรูปแบบไมซ์ ในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 11(1), 281-291.

Aldebert, B., Dang, R. J. & Longhi, C. (2011). Innovation in the tourism industry: The Case of Tourism. Tourism Management, 32(5), 1204-1213.

Chantavanich, S. (2011). Withikan wichai choeng khunnaphap Qualitative Research Method. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Creswell, J. W. (1998). Qualitative Inquiry and Research Design: Choosing Among Five Traditions. Thousand Oaks, CA: Sage.

Edrees, M. (2016). The Role of Urban Design in Crowd Control: Case Study Jamarat Area, Emirates Journal of Engineering Research, 21(1), 1-23.

Gilboa, S., & Herstein, R. (2012). Place status, place loyalty and well-being: An exploratory investigation of Israeli residents. Journal of Place Management and Development, 5(2), 141-157.

Huiwen, V. T. (2014). Constructing a competence model for international professionals in the MICE industry: An analytic hierarchy process approach. Journal of Hospitality Leisure Sport &Tourism Education, 15, 34–49.

Jin, X., & Cheng, M. (2020). Communicating mega events on Twitter: implications for destination marketing. Journal of Travel & Tourism Marketing, 37(6), 739-755.

Lee, S. C., Chung, B. W. & Son, B. N. (2012). An analysis of visitor’s characteristic in Taiwan flower exhibition. Journal Rural Tour, 19(2), 51-64.

Martinho, G., Gomes, A., Ramos, M., Santos, P., Gonçalves, G., Fonseca, M., Pires, A. & Solid. (2018). Solid waste prevention and management at green festivals: A case study of the Andanças Festival, Portugal. Retrieved from https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/S0956053X17307687

Müller, M. (2015). The Mega-Event Syndrome: Why So Much Goes Wrong in Mega-Event Planning and What to Do About It. Journal of the American Planning Association, 81(1), 6-17.

Pereira, L., Jerónimo, C., Sempiterno, M., Lopes da Costa, R., Dias, Á. & António, N. (2021). ‘Events and festvals contributon for local sustainability’, Sustainability 13(3), 1520. htps://doi.org/10.3390/su13031520.

Rowe, D., & McGuirk, P. (1999). Drunk for three weeks: Sporting success and city image. International Review for the Sociology of Sport, 34(2), 125-141.

Wannarot, S. (2018). The Increasing of Performance Efficiency by Using Kaizen Concept: Case Study of Y S Pnd Co., Ltd. (Master’s thesis). Retrieved from http://thesis.rru.ac.th/files/pdf/696_2019_03_21_112129. pdf

Xinwei, Y., Tong, W., Lianghai, L., Baoqian, D., Yu, W. (2021). Discussion on Operation Risk Analysis and Emergency Management Construction of Urban Large-scale Horticultural Exposition. Retrieved from https://www.e3s- conferences.org/ articles/e3sconf/pdf/ 2021/29/e3sconf_eem2021_03071.pdf

Xu, J. B. (2010). Perceptions of tourism products. Journal of Tourism Management, 31(5), 607-610.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-29

How to Cite

สนั่นเอื้อ ศ., & ภูริภักดี ส. . (2024). การสำรวจความพร้อมของจังหวัดอุดรธานีกับการเป็นเจ้าภาพ จัดงานพืชสวนโลกในปี 2569. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 11(1), 103–124. https://doi.org/10.60101/mmr.2024.267604