ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานในองค์กรของประชากรวัยทำงาน GENERATION Y หลังสถานการณ์ COVID-19

ผู้แต่ง

  • ธันยพร วิศรียา คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • วัลภา หัตถกิจพาณิชกุล คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คำสำคัญ:

แรงจูงใจในการทำงาน, การทำงานเป็นทีม, ความเครียดในการทำงาน, ประสิทธิภาพในการทำงาน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานในองค์กรของประชากร Generation Y หลังสถานการณ์ COVID-19 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิจัย 400 ตัวอย่าง โดยเป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ค่าสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความแตกต่างโดยการทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ผลการวิจัย พบว่า (1) ประชากร Generation Y ที่มีเพศ อายุ ระดับรายได้ และระดับตำแหน่งงานแตกต่างกันมีประสิทธิภาพการทำงานในองค์กรหลังสถานการณ์ COVID-19 ที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) แรงจูงใจในการทำงาน การทำงานเป็นทีม และความเครียดในการทำงานมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการทำงานในองค์กรของประชากร Generation Y อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

References

กรมสุขภาพจิต. (2563). Gen Y/Gen Me กลุ่มผู้กุมชะตาโลก. สืบค้นจาก https://dmh.go.th/news/view.asp?id=1251

กรมสุขภาพจิต. (2564). เมื่อการ Work From Home ลบเส้นแบ่งเวลา ทำให้เวลาส่วนตัวกลายเป็นเวลาทำงาน. สืบค้นจาก https://dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=31065

กรวิกา มีสามเสน และ กฤษดา เชียรวัฒนสุข. (2564). ปัจจัยในการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอคลองหลวงจังหวัดปทุมธานี. Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University, 8(2), 228-241.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2561). สถิติสำหรับงานวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: สามลดา.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2564). การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS FOR WINDOWS (พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬา.

กิตติทัช เขียวฉอ้อน. (2560). การทำงานเป็นทีมสู่การเพิ่มประสิทธิผลในการทำงาน. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 11(1), 355-370.

จิรนุช จิตราทร. (2561). ความเครียด. สืบค้นจาก https://www.rama.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/05142014-1901

เจษฎา ผิวผ่อง. (2564). แรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของลูกจ้างของสำนักการระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ.

ฐานเศรษฐกิจ. (2560). ประชากรไทย GenY ใหญ่สุด พฤติกรรมสร้างโอกาส-ความเสี่ยง (1). สืบค้นจาก https://www.thansettakij.com/columnist/234315

ณพัฐอร เฮงสมบูรณ์, พจนีย์ มั่งคั่ง และ กัญภร เอี่ยมพญา. (2565). การทำงานเป็นทีมที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานของสถานศึกษาสังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 6. วารสารสิรินธรปริทรรศน์, 23(2), 186-200.

ณัฐณิชา พ่วงอ่างทอง. (2566). ความเครียดและภาวะหมดไฟของการทำงานที่บ้านในช่วงโควิด-19 ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท ในเขตกรุงเทพมหานคร. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม.

ธนภรณ์ พรรณราย. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.

ธัญพิชชา สามารถ และ ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2558). ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร เทศบาลนครในภาคตะวันออก. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 7(2), 391-427.

ธีทัต ตรีศิริโชติ และ อุมาพร ฉ่ำช่วง. (2564). ปัจจัยแรงจูงใจที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการสังกัดสำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 2. วารสารวิชาการสังคมศาสตร์เครือข่ายวิจัยประชาชื่น, 3(1), 15-23.

นัฐธิดา วงษ์รอต. (2560). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของการทำงานเป็นทีมกับการดำเนินงานวิชาการของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 5. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุยา, พระนครศรีอยุธยา.

นันทวดี อุ่นละมัย กฤษฏ์ เติมทิพย์ทวีกุล และ กฤษดา เชียรวัฒนสุข. (2561). การจัดการความเครียดในการทำงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดของบุคลากร. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 5(1), 104-117.

ปณิศา มีจินดา. (2553). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: เพชรจรัสแสงแห่งโลกธุรกิจ.

ปัญญาภา อัคนิบุตร. (2565). แรงจูงใจที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงาน บริษัทรัฐวิสาหกิจให้บริการด้านท่าอากาศยาน Generation Y. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม.

ปิยนันท์ สวัสดิ์ศฤงฆาร. (2562). 2-Factor Theory [Frederick Herzberg]. สืบค้นจาก https://drpiyanan.com/2019/04/17/2-factor-theory-frederick-herzberg/

เพทาย ทรัพย์กะสินธุ์. (2563). แรงจูงใจมีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ต่างประเทศ สายธุรกิจนำเข้าและส่งออกของธนาคารแห่งหนึ่ง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

วรทรรศน์ สาระคุณ. (2563). ลักษณะการทำงานเป็นทีมต่างเจนเนอเรชั่นส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานขาย ของธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

วัฒนา ศรีวิลัย และ กล้าหาญ ณ น่าน. (2564). ความเครียดและความเหนื่อยหน่ายในการทำงานที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษา: บริษัท ไฟน์ เม็ททัล เทคโนโลยีส์ จำกัด (มหาชน). วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 7(2), 34-42.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2538). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.

สมาคมการจัดการงานบุคลากรแห่งประเทศไทย. (2565). กลยุทธ์ฟื้นฟูองค์กร หลังพ้นวิกฤต COVID-19. สืบค้นจาก http://www.pmat.or.th/ความรู้ทรัพยากรบุคคล/1712/HR%20Infographic/20712/content1/?contentid=38078

สิเรียม คมขำ. (2564). การรับรู้ภาวะผู้นำและทักษะการทำงานของพนักงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานเป็นทีม. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

สุจิรา มูลอาษา. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานในองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไรกรณีศึกษา สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน. (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

สุพานี สฤษฎ์วานิช. (2552). พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อธิป จันทร์สุริย์. (2563). อิทธิพลของความไว้วางใจต่อประสิทธิผลของการทำงานเป็นทีมในธุรกิจบริการ. วารสารเกษมบัณฑิต, 21(1), 1-11.

อภิญญา อิงอาจ. (2563). ความกังวลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 17(2), 94-113.

อาภาวี เรืองรุ่ง. (2566). ปัจจัยแรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลตำบลโคกสำโรง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี. วารสารวิจยวิชาการ, 6(10), 243-254.

อุสุมา ศักดิ์ไพศาล. (2556). คุณภาพชีวิตการทำงานที่มีผลกับ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท อินเตอร์ เรียลตี้ แมเนจเม้นท์ จำกัด. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปทุมธานี.

Cartoon Tanaporn. (2565). Hybrid Working เทรนด์การทำงานรูปแบบใหม่ที่หลายบริษัทต้องเริ่มเตรียมความพร้อมไว้ตั้งแต่ตอนนี้. สืบค้นจาก https://thegrowthmaster.com/ growth-mindset/hybrid-working

Herzberg, F., Bernard, M. and Snyderman, B. (1959). The Motivation to Work. New York: John Wiley and Sons.

HREX. (2566). สิ่งสำคัญในการสร้างแรงจูงใจในการทำงานให้กับพนักงานคืออะไร. สืบค้นจาก https://th.hrnote.asia/orgdevelopment/whyimportantmotivation/

Krungsri Academy. (2565). Teamwork อย่างไรให้มีประสิทธิภาพ. สืบค้นจาก https://www.krungsri.com/th/plearn-plearn/effective-result-of-perfect-teamwork

Peterson, E. & Plowman, E. G. (1953). Business Organization and Management. Homewood, Illinois: Richard D. Irwin.

Robbins, S. P., & Judge, T. A. (2013). Organisational Behavior. Boston: Pearson.

Yamane, T. (1973). Statistics: an introductory analysis (3rd Ed.). New York: Harper and Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-29