ตัวแบบการจัดการคุณภาพเพื่อส่งเสริมคุณค่าในแบรนด์ผลิตภัณฑ์ชุมชน
คำสำคัญ:
การจัดการคุณภาพ, คุณค่าในแบรนด์, ผลิตภัณฑ์ชุมชนบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาประเด็นแนวโน้มการจัดการคุณภาพเพื่อส่งเสริมคุณค่าในแบรนด์ผลิตภัณฑ์ชุมชน ด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร 2. เพื่อศึกษาและพัฒนาแนวทางการจัดการคุณภาพเพื่อส่งเสริมคุณค่าในแบรนด์ผลิตภัณฑ์ชุมชน 3. เพื่อสังเคราะห์เป็นตัวแบบการจัดการคุณภาพเพื่อส่งเสริมคุณค่าในแบรนด์ผลิตภัณฑ์ชุมชน การวิจัยนี้เป็นวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ มีการศึกษาศักยภาพชุมชน เรียนรู้และพัฒนาร่วมกับชุมชน ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม การกำหนดขนาดตัวอย่างโดยการลงพื้นที่ศึกษาศักยภาพชุมชน และเรียนรู้ร่วมกับชุมชน และพัฒนาชุมชนร่วมกับ ผู้นำชุมชน 1 คน ภาครัฐ 2 คน และสมาชิกชุมชน 20 คน ต่อ 1 พื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 5 พื้นที่ ที่เป็นชุมชนที่มีศักยภาพในการพัฒนาแบรนด์ผลิตภัณฑ์ชุมชน ในจังหวัดเพชรบุรี ถอดบทเรียน โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้ประกอบการที่มีศักยภาพในชุมชน ที่มีส่วนร่วมกับหน่วยงานภาครัฐในโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 8 ราย และถอดบทเรียน และในส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ด้วยวิธีการวิเคราะห์เส้นทาง (path analysis) ใช้แนวทางกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างให้สอดคล้องกับการใช้สถิติวิเคราะห์องค์ประกอบ โดยเกณฑ์ในการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง คือ 10 คน ต่อ 1 ตัวแปรสังเกตได้ โดยจำนวนกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 420 ตัวอย่าง ในการศึกษาครั้งนี้ เพื่อนำมาสังเคราะห์ร่วมกับการวิจัยเอกสาร และสกัดองค์ประกอบ เพื่อหาจำนวนองค์ประกอบ เพื่อนำมาสร้างแบบสอบถามกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า ตัวแบบการจัดการคุณภาพเพื่อส่งเสริมคุณค่าในแบรนด์ผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วย คุณภาพด้านผลิตภัณฑ์ คุณภาพด้านภาพลักษณ์ และคุณภาพด้านการบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ โดยคุณภาพด้านผลิตภัณฑ์ส่งผลต่อคุณค่าในแบรนด์ผลิตภัณฑ์ชุมชน และส่งผลต่อการบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ รวมถึงส่งผลต่อคุณภาพด้านภาพลักษณ์ ส่งผลต่อการบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ และส่งผลต่อคุณค่าในแบรนด์ผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยผลการวิเคราะห์เส้นทางมีความกลมกลืนกันกับโมเดลเชิงประจักษ์ คือ χ2/df=1.214, p=0.106, CFI= 0.988, GFI=0.972, AGFI=0.958, RMSEA=0.023
References
กฤษณะ ดาราเรือง. (2560). การพัฒนาผลิตภัณฑ์และกลยุทธ์ทางการตลาดวิสาหกิจชุมชนบ้านเขาแหลม จังหวัดนครสวรรค์. วารสารวิชาการสุทธิปริทัศน์, 31,(100), 130-143.
กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน. (2559). แผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔. สืบค้นจาก https://is.gd/jTcKgd
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2557). การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) ด้วย AMOS. กรุงเทพมหานคร: สามลดา.
กิตติศักดิ์ แสงทอง และพุธวิมล คชรัตน์. (2561). การรับรู้และความคาดหวังของประชาชนต่อบทบาทของคณะกรรมการบริหารกองทุนสุขภาพตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 11(1), 131-138.
ขวัญกมล ดอนขวา. (2556). การจัดการธุรกิจชุมชนบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. (รายงานการวิจัย). นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
จง บุญประชา. (2553). แนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทของที่ระลึก. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา สถาบันวิจัยและพัฒนา.
ปิยะดา พิศาลบุตร. (2561). กลยุทธ์การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดปราจีนบุรี. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, 8,(1), 105-120.
พิมพ์ลภัทร ศรีมณฑา และพัชร พิลึก. (2559). ภาพลักษณ์ตราสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OPC)
ในเขตจังหวัดนนทบุรี. (รายงานการวิจัย). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์.
โรจนา ธรรมจินดา และคณะ. (2560). การพัฒนารูปแบบธุรกจิชุมชนอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา กลุ่มผักปลอดสารบ้านดอนสถาน อำเภอปัว จังหวัดน่าน. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), 10(4), 98-106.
วุทธิชัย ลิ้มอรุโณทัย และ ธีระวัฒน์ จันทึก. (2559). การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาคารสีเขียวโดยใชแนวทางการจัดการคุณภาพโดยรวม. Veridian E-Journal, 9(2), 33-47.
ศุภลักษณ์ หล้าเพชร อรุณงาม. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดสร้างสรรค์ทางการตลาดสมัยใหม่กับผลการดําเนินงานของผู้ประกอบการธุรกิจ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).
สกลเกียรติ สังวรกิตติวุฒิ และวรรณธนา รัตนานุกูล. (2561). การศึกษาการบริหารจัดการธุรกิจชุมชนสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0: กรณีศึกษากลุ่มข้าวซ้อมมือบ้านนาลิง ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา. วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 4(1), 332-341.
สุทธิศักดิ์ กลิ่นแก้วณรงค์. (2558). การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อผลักดันผลิตภัณฑ์ OTOP. วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ, 63(199), 19-21.
Analysis: A global perspective (7 th ed.). New Jersey: Pearson Education Inc.
Arslankaya, Seher, and Hatice Atay. (2015). Maintenance management and lean manufacturing practices in a firm which produces dairy products. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 207, 214-224.
Burmann, C. (2005). Building Brand Commitment: A Behavioral Approach to Internal Brand Management. Journal of Brand Management, 12, 279-300.
Christian Stumpf and Matthias Baum. (2016). Customer Referral Reward-Brand-Fit:A Schema Congruity Perspective. Psychology and Marketing, 33(7), 542-558.
Customer Relationship Management. American Marketing Association, 69(4), 219-229.
Deming, Edward W. (1995). Out of the Crisis. USA: The Massachusetts Institue of Technology, Center for Advanced Engineering Study, McGraw - Hill Book Co.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J. and Anderson, R. E. (2010). Multivariate data.
Hughes, M.U., Bendoni, W.K., and Pehlivan, E. (2016). Storygiving as a co-creation tool for luxury brands in the age of the internet: a love story by Tiffany and thousands of lovers. Journal of Product and Brand Management, 25(4), 357-364.
Jonathan et al. (2019). Let the Logo Do the Talking: The Influence of Logo Descriptiveness on Brand Equity. Journal of Marketing Research, 56(5) 862-878.
Juran, J.M., and Gryna F.M. (1993). Quality Planning and analysis. (International Edition,3rd ed.). Singapore: McGraw-Hill.
Kaili Yieh et al. (2018). An investigation of B-to-B brand value: evidence from manufacturing SMEs in Taiwan. Journal of Business-to-Business Marketing, 25,(2), 119-136.
Kapferer, J-N. and Bastien, V. (2012). The Luxury Strategy - Breaking the Rules of Marketing to Build Luxury Brands. London, UK: Kogan Page.
Khuram et al. (2018). Exploration of Global Brand Value Announcements and Market Reaction. Administrative sciences, 8(49), 1-11.
Kun Nan W. (2018). CUSTOMER RELATIONSHIPMANAGEMENT TO IMPORT CLOUD SERVICES PLATFORM. In Northeast Decision Sciences Institute 2018 Annual Conference. Island, USA: Providence, Rhode.
Linda M. (2007). INTERNAL AND EXTERNALLY-FOCUSED MARKETING CAPABILITIES AND FIRM PERFORMANCE. In American Marketing Association winter Educators’ Conference (pp.275-276). Oxford, USA: University of Mississippi, University.
Manuel P. Teodoro and Seung-Ho. (2018). Citizen-Based Brand Equity: A Model and Experimental Evaluation. Journal of Public Administration Research And Theory, 28(3), 321-338. doi.org/10.1093/jopart/mux044
Michael V. Laric and Peter M. Lynagh. (2008). INTERNET MARKETING AND CUSTOMER RELATIONSHIPS MANAGEMENT: A TWO STEP COMMUNICATIONS STRATEGY. Northeast Decision Sciences Institute Proceedings (pp. 361-366). New Jersey, USA: Rutgers University.
Minár, Pavol. (2015). THE ERA OF SEGMENTED MARKETING AND POLYPHONIC BRAND IDENTITY: THE TATRA BANKA RYTMUS FINANCE ACADEMY CAMPAIGN. A CASE STUDY. Marketing Identity, 3(1), 208-228.
Nicoleta V., Dorina A. and Anişoara. (2018). Enabling Customer-Centricity and Relationship Management using Net Promoter Score. Valahian Journal of Economic Studies, 9(2), 115-126.
Pinar B. (2016). EFFECT OF BRAND VALUE ANNOUNCEMENTS ON STOCK RETURNS: EMPIRICAL EVIDENCE FROM TURKEY. Journal of Business Economics and management, 17(6), 1252-1269.
Pusa, Sofia andUusitalo, Liisa. (2014). Creating Brand Identity in Art Museums: A Case Study. International journal of arts management, 17(1), 19-30.
Ray R. (2016). Corporate Brand Value Shifting from Identity to Innovation Capability: from Coca-Cola to Apple. Journal of Technology Management & Innovation, 11(3), 11-20.
Rothrock, Heather. (2014). Sustainable housing: Emergy evaluation of an off-grid Residence. Energy and Buildings, 85, 287-292.
Stroch, Filip and Stoklasa, Michal. (2017). METHODS FOR CREATING PERSONALIZED MARKETING CONTENT IN B2B ONLINE COMMUNICATION. Marketing Identity, 5(1), 434-439.
Todorut, AmaliaVenera. (2012). Sustainable Development of Organizations through Total Quality Management. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 62(24), 927-31.
Wang et al, (2012). Social media peer communication and impacts on purchase intentions: A consumer socialization framework. Journal of Interactive Marketing, 26(4), 198-208.
Williams, A., Atwal, G., and Bryson, B (2018). Luxury craftsmanship – the emergent luxury beer market. British Food Journal, 121(2), 359-370. doi.org/10.1108/BFJ-02-2018-0092
Yaping C.(2019). Getting more likes: the impact of narrative person and brand image on customer-brand interactions. Journal of the Academy of Marketing Science, 47, 1027-1045.
Yong Cao and Thomas S. Gruca. (2005). Reducing Adverse Selection Through.
Zahra, Shaker A., and Satish Nambisan. (2012). Entrepreneurship and strategic thinking in business ecosystems. Business Horizons, 55(3), 219-229.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้นิพนธ์
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณาจารย์ท่านอื่น ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว