การยอมรับและพฤติกรรมการใช้โมบายแบงก์กิ้งในแต่ละเจเนอเรชั่น: กรณีศึกษา ผู้ใช้ในจังหวัดสงขลา
คำสำคัญ:
การยอมรับโมบายแบงก์กิ้ง, พฤติกรรมการใช้โมบายแบงก์กิ้ง, เจเนเรชั่นบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ 1) เพื่อศึกษาการยอมรับและพฤติกรรมการใช้โมบายแบงก์กิ้งในแต่ละเจเนอเรชั่น และ 2) เพื่อเปรียบเทียบการยอมรับและพฤติกรรมการใช้โมบายแบงก์กิ้งในแต่ละเจเนอเรชั่น เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ใช้โมบายแบงก์กิ้งแอปพลิเคชันทุกเจเนอเรชั่น ได้แก่ Z, X, Y, และ B จำนวน 480 คนในจังหวัดสงขลา โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบโควต้าและแบบบังเอิญ สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่โดยใช้วิธี Fisher’s Least Significant Difference (LSD) หรือ Dunnett’s T3 ผลการศึกษาค้นพบว่า 1) เจเนอเรชั่น Z และ Y มีการยอมรับการใช้โมบายแบงก์กิ้งในระดับมากที่สุด ในขณะที่เจเนอเรชั่น X และ B มีการยอมรับการใช้โมบายแบงก์กิ้งอยู่ในระดับมาก 2) ทุกเจเนอเรชั่นมีการโอนเงินระหว่างบัญชีมากที่สุด ในขณะที่การใช้บริการที่เกี่ยวข้องกับสินเชื่อจะมีการใช้น้อยที่สุดในทุกเจเนอเรชั่น 3) เจเนอเรชั่นต่างกันมีการยอมรับการใช้โมบายแบงก์กิ้งแตกต่างกัน และ 4) เจเนอเรชั่นต่างกันมีพฤติกรรมการใช้โมบายแบงก์กิ้งแตกต่างกัน ยกเว้น การเติมเงินโทรศัพท์มือถือ
References
ชัญญาพัทธ์ จงทวี. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการ Mobile Banking เขตกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
ณัฏฐาภรณ์ นุราช. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการไม่เลือกใช้บริการโปรแกรมประยุกต์ทางการเงินของธนาคารออมสิน. สืบค้นจาก http://www.ba-abstract.ru.ac.th/index.php/abstractData/viewIndex/219.ru
ณัฐปภัสร์ ดาราพงษ์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเทคโนโลยี mobile banking. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
ธนรรภรณ์ เศรษฐ์จินดา และ กวิสรา มิมาชา. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการใช้บริการ ธนาคารทางโทรศัพท์อย่างต่อเนื่อง กรณีศึกษาของผู้ใช้บริการในเขตกรุงเทพมหานคร. RMUTT Global Business and Economics Review, 14(1), 117 - 137.
ธวัชชัย วรพงศธร และสุรีย์พันธุ์ วรพงศธร. (2561). การคำนวณขนาดตัวอย่างสำหรับงานวิจัยโดยใช้ โปรแกรมสำเร็จรูป G*Power. วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม, 41(2), 11 - 21.
ธัญนันท์ วีรภัทรรุ่งโรจน์. (2559). ลักษณะความแตกต่างระหว่าง Generation X, Y และ Z ใน กรุงเทพมหานครและพฤติกรรมในการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเนชั่น).
ธัญมาศ ทองมูลเล็ก และ ปรีชา วิจิตรธรรมรส. (2560). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับและการใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ในสังคมไทย. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 5, 114 - 124.
นพจกรณ์ สายะโสภณ และ พัชร์หทัย จารุทวีผลนุกูล. (2561). กลุ่มอ้างอิงและรูปแบบการดำเนินชีวิตที่ส่งผลต่อรูปแบบการตัดสินใจซื้อเครื่องแต่งกายแนวสปอร์ตของผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชั่นวายในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 5(2), 70 - 82.
นาตยา ศรีสว่างสุข. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับแอปพลิเคชั่นมายโมในการทำธุรกรรมทางการเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ : กรณีศึกษา ธนาคารออมสินในเขตกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี).
บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2555). การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย: คุณสมบัติการวัดเชิงจิตวิทยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปภาวี เนตรอรุณ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติและการใช้บริการกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ของผู้บริโภคกลุ่ม Generation X และ Y ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารระบบสารสนเทศด้านธุรกิจ, 5(2), 6 - 24.
ปวิตรา สอนดี. (2560). การยอมรับนวัตกรรมโมบายแบงก์กิ้งแอพพลิเคชั่น (Mobile Banking Application) ของกลุ่มผู้ใช้งานที่มีอายุ 40-60 ปี. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).
พรพรรณ ช้างงาเนียม. (2553). ลักษณะบุคคล ความพึงพอใจและพฤติกรรมการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ (Mobile Banking) ของลูกค้าธนาคารในกรุงเทพมหานคร. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).
วรรณพร หวลมานพ. (2558). พฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้ใช้แอพพลิเคชั่นโมบายแบงก์กิ้งของธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
วสุธิดา นุริตมนต์ และ ทรงวิทย์ เจริญกิจธนลาภ. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีและความตั้งใจใช้บริการชำระเงินของผู้บริโภครุ่นใหม่ด้วยโปรแกรมประยุกต์คิวอาร์โค้ดผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟน. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 6(2), 40 - 50.
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ. (2561). ธนาคารล่องหน กวาดสาขาธนาคารและตู้ ATM. สืบค้นจาก https://www.thansettakij.com/content/357690
สุนันทา จันทร์แสง และ แสงดาว ประสิทธิสุข. (2561). การเปรียบเทียบทัศนคติด้านส่วนประสมทางการตลาดและความภักดีที่มีต่อธนาคารออมสินระหว่างกล่มเจเนเรชั่น (B X Y Z) ในเขตธนาคารออมสิน ภาค 2. ใน การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 11 (น. 601 - 608). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรังสิต.
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2561). Mobile Banking รูปแบบใหม่ กับฟีเจอร์เพื่อผู้ประกอบการ e-Commerce. สืบค้นจาก https://www.etda.or.th/content/ mobile-banking-features-for-e-commerce.html
อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์. (2561). พฤติกรรมการใช้สื่อของกลุ่มเจ็นเนอเรชั่น เอ็กซ์และเจ็นเนอเรชั่นวาย. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 6(1), 59 - 65.
อภิชาติ เทศสวัสดิ์วงศ์. (2553). ทัศนคติและพฤติกรรมการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินบนมือถือของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).
อารยา ศิริพยัคฆ์. (2560). อะไรจะเกิดขึ้น? เมื่อธนาคารเดินหน้าเข้าสู่ยุคดิจิตัล. สืบค้นจาก https://www.ddproperty.com/ข่าวอสังหาริมทรัพย์-บทความ/ /2017/9/160491/
Becton, J. B., JackWalker, H., & Jones-Farmer, A. (2014). Generational differences in workplace behavior. Journal of Applied Social Psychology, 44, 175 - 189.
Davis, F. D., Bagozzi, R. P., & Warshaw, P. R. (1989). User acceptance of computer technology: a comparison of two theoretical models. Management Science, 35(8), 982 - 1003.
Khadka, R. & Kohsuwan, P. (2018). Understanding Consumers’ Mobile Banking Adoption in Germany: An Integrated Technology Readiness and Acceptance Model (TRAM) Perspective. Catalyst, 18, 56 - 67.
Lee, M. C. (2009). Factors influencing the adoption of internet banking: An integration of TAM and TPB with perceived risk and perceived benefit. Electronic Commerce Research and Applications, 8(3), 130 - 141.
MarketingOops. (2562). Thailand Digital 2019. สืบค้นจาก http://www.marketingoops.
com/reports/global-and-thailand-digital-trend-2019/
Positioning. (2018). คนไทยพร้อมแค่ไหน สังคมไร้เงินสด? สืบค้นจาก http://positioningmag.
com/1200744
Putri, N. R. R., Rahadi, R. A., & Murtaqi, I. (2017). A conceptual study on the use of electronic payment instruments among generation Z in Bandung city. Journal of Global Business and Social Entrepreneurship, 3(9), 32 - 40.
Ruangkanjanases, A. & Wongprasopchai, S. (2017). Adoption of mobile banking services: An empirical examination between Gen Y and Gen Z in Thailand. Journal of Telecommunication, Electronic and Computer Engineering, 9, 197 - 202.
Valickas, A. & Jakstaite, K. (2017). Different generations’ attitudes towards work and management in the business organizations. Human Resources Management & Ergonomics, 11, 108 - 119.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้นิพนธ์
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณาจารย์ท่านอื่น ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว