กลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อพัฒนาจัดการแหล่งท่องเที่ยว หลังสถานการณ์ COVID-19 ภายใต้เงื่อนไขการรีวิวจากสื่อออนไลน์ด้วยวิจัยตลาด Sentiment Analysis ผ่านกลไก Chat GPT กรณีศึกษา ตลาดกลางคืนเชียงรายไนท์บาซาร์
DOI:
https://doi.org/10.60101/mmr.2024.269115คำสำคัญ:
Chat GPT , แนวทางการพัฒนา , กลยุทธ์การบริหารจัดการ, ปัจจัยที่มุ่งเน้นตลาด , การวิเคราะห์ความรู้สึกบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มุ่งหวังที่จะศึกษาการพัฒนาและการบริหารจัดการในสถานที่ท่องเที่ยวโดยการใช้ปัจจัยทางตลาด โดยใช้เทคโนโลยี Chat GPT เพื่อการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้ใช้งาน เก็บรวบรวมข้อมูลจากการรีวิวของนักท่องเที่ยวที่มาเยี่ยมชมตลาดไนท์บาซาร์ในจังหวัดเชียงรายผ่าน Google Maps ภายหลังจากสถานการณ์โควิด 19 จากนั้นทำการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อคิดกลยุทธ์การตลาดที่เหมาะสมกับบริบทท้องถิ่น
ผลการศึกษาสรุปได้ว่ามีรีวิวทั้งหมด 434 รีวิวในช่วงเดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนพฤษภาคม 2566 โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนการรีวิวที่ 4.2 จาก 5 ดาว ส่วนใหญ่มาจากแพลตฟอร์มสื่อสังคม Google Maps นักท่องเที่ยวประเทศอังกฤษเป็นผู้รีวิวมากที่สุด โดยมีอัตราส่วนอยู่ที่ร้อยละ 39 ของนักท่องเที่ยวทั้งหมด คำวิจารณ์ที่พบบ่อยที่สุดเป็นคำวิจารณ์เชิงบวก คิดเป็นร้อยละ 55 และรองลงมาเป็นคำวิจารณ์กลาง ๆ คิดเป็นร้อยละ 23 การใช้เทคโนโลยี Chat GPT สำหรับการวิเคราะห์ทางตลาด การวิจัยมีการนำเสนอกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่เน้นการเพิ่มความหลากหลายของอาหาร รักษาความสะอาด เสริมประสบการณ์การชอปปิง ดูแลสิ่งอำนวยความสะดวก และที่พักที่เหมาะสมสำหรับนักท่องเที่ยว และส่งเสริมความร่วมมือกับสถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
References
กนก บุญศักดิ์, กานดา สีหเนตร และ นพอนันต์ กาญจนวัฒนาวงศ์. (2565). การศึกษากลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนสุขสมบูรณ์ อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 16(1), 80-91.
กมลวรรณ วรรณธนัง และ สืบวงศ์ กาฬวงศ์. (2564). การศึกษาผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของประชาชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา, 13(2), 85-98.
ชลธิชา วังศิริไพศาล และ นาถรพี ตันโช. (2563). พฤติกรรมและทัศนคติในการรับชมรีวิวการท่องเที่ยวออนไลน์ที่มีผลต่อ ความตั้งใจมาท่องเที่ยว 15 สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดกระบี่ ของผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชั่นวาย. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 7(2), 30-44.
ชานู ชินนามมา อะจอย, ศรสัวรรค์ พััชราพัรกระมล, นฤมล ไตรเดชาพล และ ปัณฑ์ณัฐ แซ่ลี้. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณสมบัติของนักศึกษาบัญชีกับความรู้และทักษะในด้านปัญญาประดิษฐ์ใน มหาวิทยาลัยเอกชน. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมป์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 11(1), 11-31.
ทรงพล รวมใหม่. (2565). การพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนผ่านเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสาร มจร การพัฒนาสังคม, 7(3), 346-358.
ปภัสสา ศักดิ์ศิริกุล และ วีรพงษ์ พวงเล็ก. (2564). อิทธิพลของการสื่อสารแบบปากต่อปาก (WOM) บนสื่อสังคมออนไลน์และความไว้วางใจที่มีผลต่อความตั้งใจท่องเที่ยวในประเทศไทยในยุคโควิด-19 ระลอก 3 ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 6(3), 585-598.
ปวีณา งามประภาสม. (2563). แนวทางการพัฒนากลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดสำหรับการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างมีส่วนร่วม กรณีศึกษา ชุมชนท่องเที่ยวบ้านเมาะหลวง อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 22(2), 115-126.
วราภรณ์ บรรเทิงใจ และ ศิริศักดิ์ เหล่าจันขาม. (2564). ผลกระทบต่ออาชีพหมอลำเรื่องต่อกลอนในช่วง สถานการณ์แพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). วารสารการบริหารปกครอง, 10(2), 134-155.
วิภาดา เถาธรรมพิทักษ์, สิปปวิชญ์ วงศ์สุวัฒน์ และ ศิริกัญญา ทองเส้ง. (2566). พฤติกรรมการท่องเที่ยวความกังวลในการเดินทางท่องเที่ยว การรับรู้ผ่านการสื่อสารแบบปากต่อปากบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และความตั้งใจเดินทางท่องเที่ยวภายหลังการแพร่ระบาดของโควิด 19 ของนักท่องเที่ยวชาวมุสลิม. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 18(1), 35-48.
ศันสนีย์ กระจ่างโฉม, กรวรรณ สังขกร และ นิเวศน์ พูนสุขเจริญ. (2563). กลยุทธ์การปรับตัวของภาคการท่องเที่ยวในภาคเหนือตอนบนภายใต้วิกฤติการณ์การระบาดโควิด-19. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 41(1), 1-20.
สถาบันข้อมูลขนาดใหญ่. (2566, 9 พฤษภาคม). Reinforcement Learning from Human Feedback (RLHF) เทคนิคเบื้องหลัง ChatGPT. https://bdi.or.th/big-data-101/rlhf-chatgpt/
สราญรัตน์ ไว้เกียรติ. (2566, 10 กรกฎาคม). Sentiment Analysis ตัวอย่างการใช้ AI จัดการข้อมูลความคิดเห็นลูกค้า. https://visai.ai/th/blogs/4/use-cases-sentiment-analysis
สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2561). รายงานผลสํารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2561. https:// www.etda.or.th/publishing-detail/thailand-internet-user -profile-2018.html
อรณิชา สวัสดิชัย และ อรรยา สิงห์สงบ. (2565). ปัญหาทางกฎหมายสิทธิบัตร: กรณีการประดิษฐ์เกิดจากปัญญาประดิษฐ์. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.), 28(1),1-12.
อรไท ครุธเวโช, โยษิตา แย้มมา, ปภาวรินทร์ สีนะ, พิชญดา จูละพันธ์, ธีรนาถ วจนะคัมภีร์ และ วรพจน์ ตรีสุข. (2564). การพัฒนาการท่องเที่ยวตามแนวคิดส่วนประสมทางการตลาดบริการในมุมมองของนักท่องเที่ยว เจนวายที่เดินทางท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ในสภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของ COVID-19. วารสารรัชต์ ภาคย์, 15(41), 242-258.
Becker, S. L., & Roberts, C. L. (1992). Discovering mass communication (3rd ed.). Harper Collins.
Kalnaovakul, K., & Promsivapallop, P. (2021). Dimensions of Night Market Visit Experience of International Tourists: An Analysis of Google Reviews of Night Markets in Phuket, Thailand. Asia-Pacific Social Science Review, 21(3), 57-73.
Kim, J.-Y.,& Hwang, J. (2022). Who is an Evangelist? Food Tourists’ Positive and Negative eWOM Behavior. International Journal of Contemporary Hospitality Management, 34(2), 555-577.
Kolter, P. (2003). Marketing Management (11th ed.). Prentice-Hall.
Krungthai Compass. (2020). Penetrating Tourist Behavior in the New Normal: When COVID Comes, Life Changes. Krungthai.
Maslow, A. (1970). Motivation and Personality. Harper and Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้นิพนธ์
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณาจารย์ท่านอื่น ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว