<b>วรรณคดีสโมสรกับองค์ความรู้เรื่องวรรณกรรมในสังคมไทย: ข้อวิพากษ์ในบริบทของสังคมการเมืองของการทำให้เป็นสมัยใหม่ (Modernization)</b><br>'Royal Society of Literature' (RSL)(Wannakadee samosorn) as Knowledge of Thai Literature: Critics in Context of Politica

ผู้แต่ง

  • อาทิตย์ ศรีจันทร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

คำสำคัญ:

Royal Society of Literature (RSL) (wannakadee samosornล), New public sphere, Printing, Aristocracy, Seized of area in social and cultural

บทคัดย่อ

 

Abstract
This article studies an original of Royal Society
of Literature (RSL) (wannakadee samosorn) among
changes in Thai society in 2 points. Firstly, the birth
of new public sphere and growing of printing were
indicated Thai society have gone to modernity. Its
affected to Thai literature both writhing and reading.
Poem have favoured before printing was separated,
then, it takes a place of a poem. Political criticise was
bring forward in many contents of literature which
have concerned to an aristocracy, so, RSL emerged to
solving that and still seized an area in social and
cultural. Lastly, the birth of RSL showed a taste of
aristocracy as criteria of ethic, moral and aesthetics,
thus, RSL has effected aesthetics of Thai aristocracy
rather than Thai aesthetic. Definition of literature was

produced “otherness” to another literary which were
appeared in Thai society.
Keyword: Royal Society of Literature (RSL) (wannakadee samosornล); New public sphere; Printing; Aristocracy; Seized of area in social and cultural


บทคัดย่อ
บทความชิ้นนี้เป็นการศึกษาก�าเนิดของ
วรรณคดีสโมสรท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่
ส�าคัญในสังคม 2 ประการ คือ การเกิดขึ้นของพื้นที่
สาธารณะแบบใหม่และการเจริญเติบโตของธุรกิจ
การพิมพ์ ซึ่งป็นสิ่งที่บ่งชี้ให้เห็นถึงการข้ามไปสู่
ความเป็นสมัยใหม่ในสังคมไทย การเกิดขึ้นของทั้ง
2 ปัจจัยนั้น ส่งผลสะเทือนต่อวงการวรรณกรรม
ไทยทั้งในด้านของการสร้างสรรค์และการเสพ
วรรณกรรม จากเดิมที่นิยมงานประเภทร้อยกรอง
เมื่อธุรกิจการพิมพ์เกิดขึ้นร้อยแก้วก็กลายเป็น
รูปแบบวรรณกรรมที่ได้รับความนิยมแทน ทางด้าน
เนื้อหาเริ่มมีการวิพากษ์วิจารณ์สังคมการเมืองมาก
ขึ้น สิ่งเหล่านี้สร้างปัญหาและความกังวลใจให้แก่
ชนชั้นน�า ดังนั้น "วรรณคดีสโมสร" จึงเกิดขึ้นมา
เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวและยังเป็นการช่วงชิง
พื้นที่ทางสังคมและวัฒนธรรมอีกด้วย นอกจากนี้
"วรรณคดีสโมสร" ยังแสดงให้เห็นว่ารสนิยมของ
ชนชั้นน�านั้นคือสิ่งที่เป็นมาตรฐานทั้งในด้าน
จริยธรรม คุณธรรม รวมไปถึงคุณค่าในเชิงสุนทรี
ยะที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่างอีกด้วย ด้วยเหตุนี้
"วรรณคดีสโมสร" จึงสะท้อนรสนิยมของชนชั้นสูง
มากกว่าจะเป็นคุณค่าในทางสังคมไทยทั้งหมด
การนิยาม "วรรณคดี" ยังเป็นการสร้างความเป็น
อื่นให้แก่วรรณกรรมและงานเขียนประเภทอื่นที่
ปรากฏในสังคมไทยขณะนั้นอีกด้วย
คำสำคัญ: การช่วงชิงพื้นที่ทางสังคมและ
วัฒนธรรม, ชนชั้นนำ, ธุรกิจการพิมพ์,
พื้นที่สาธารณะแบบใหม่, วรรณคดี
สโมสร

Author Biography

อาทิตย์ ศรีจันทร์, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

ศศ.ม.(วรรณคดีไทย), อาจารย์

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-01-01

ฉบับ

บท

Research Articles-Academic Articles