<b>The Involvement of Community in the Management of Culture Knowledge : Perjud Yeerai Tradition of the Fishermen’s Community in Rawai Subdistrict, Phuket</b><br>การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการความรู้ทางวัฒนธรรม: ประเพณีเปอจั๊ดญีไร่ ชุมชนชาวเล ตำบลราไวย

ผู้แต่ง

  • กิติมาพร ชูโชติ คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คำสำคัญ:

fishermen’s community, generation to generation, knowledge management, local cultural, tradition

บทคัดย่อ

This research was a qualitative form of research conducted by collecting data from documents and doing field research by interviewing those who can provide important information about the participation of activities to study the management of cultural knowledge of the “Perjud Yeerai” tradition amongst the fishermen’s community in Rawai subdistrict, Phuket. The study found that Perjud Yeerai tradition is a ceremony for making offerings to and thanking ancestors for taking care of the Uraklawoy people, which is held annually on the 15th day of the 5th waxing moon. “Perjud” means cleaning and “Yeerai” means cemetery or grave. In addition, it is also a day for the gathering of relatives. The  onservation of passing on cultural knowledge of the “Perjud Yeerai” tradition of the fishermen’s community from generation to generation, which is disappearing or changing, is done by telling the new generation so that they know, showing them by example, teaching their children the about the tradition by word of mouth, taking the new generation to see the actual location of ancestors graves, participating in the event at an early age, and by contributing to the tradition of their community.

Keywords:  fishermen’s community, generation to generation, knowledge management, local cultural, tradition



บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและการวิจัยภาคสนามโดยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลส????ำคัญ การมีส่วนร่วมในกิจกรรม เพื่อศึกษาการจัดการความรู้ทางวัฒนธรรม“ประเพณีเปอจั๊ดญีไร่” โดยการมีส่วนร่วมในการจัดการความรู้ของชุมชนชาวเล ตำบลราไวย์ จังหวัดภูเก็ต   ผลการศึกษา พบว่า ประเพณีเปอจั๊ดญีไร่ เป็นพิธีเซ่นไหว้และขอบคุณบรรพบุรุษที่คอยดูแลปกป้องให้อยู่สุขสบายของชาวอูรักลาโว้ย จัดขึ้นทุกวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 5 ของทุกปี โดยคำว่า “เปอจั๊ด” แปลว่าทำความสะอาด และ “ญีไร่” แปลว่า สุสานหรือหลุมฝังศพนอกจากนี้ ยังถือเป็นวันรวมญาติอีกด้วย ส่วนการอนุรักษ์ การถ่ายทอดองค์ความรู้ทางวัฒนธรรม“ประเพณีเปอจั๊ดญีไร่” ของชุมชนชาวเล จากรุ่นสู่รุ่นซึ่งค่อยๆ เลือนหาย เปลี่ยนแปลงไป ด้วยวิธีการบอกให้รู้ทำให้ดูเป็นตัวอย่าง สอนลูกหลานจากประเพณีที่สืบทอดกันมา โดยวิธีปากต่อปาก พามาดูสถานที่จริง พาลูกหลานไปเข้าร่วมพิธีตั้งแต่อายุยังน้อยและเข้ามามีส่วนร่วมกับประเพณีของชุมชนตัวเอง

 

คำสำคัญ:  การจัดการความรู้, จากรุ่นสู่รุ่น, ชุมชนชาวเล, ประเพณี, วัฒนธรรมชุมชน

Author Biography

กิติมาพร ชูโชติ, คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Ph.D. (การจัดการความรู้), อาจารย์

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-01-09