พัฒนาและยกระดับทักษะอาชีวศึกษาไทยในยุคเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก

ผู้แต่ง

  • สมพร ปานดำ สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ

คำสำคัญ:

อาชีวศึกษา, พัฒนาทักษะ, เพิ่มทักษะ, ทักษะใหม่, หลักสูตรวิชาชีพ

บทคัดย่อ

การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีทำให้เกิดเทคโนโลยีใหม่ๆเช่น ปัญญาประดิษฐ์ ,บล็อกเชน, เทคโนโลยีโลกเสมือน ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในโลกของการทำงานที่กำลังเปลี่ยนโฉมทุกอาชีพและทุกอุตสาหกรรม ทำให้ทั้งการเติบโตและลดลงในอัตราที่น่าตระหนกทำให้คนวัยแรงงานต้องเพิ่มเติมทักษะ           ที่จำเป็น หรือพัฒนาทักษะในทุกงานที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว  บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงแนวทางการเพิ่มและพัฒนาทักษะของแรงงานไทย ในยุคเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก ( Disruptive Technology ) โดยการพัฒนาการศึกษาด้านวิชาชีพเพื่อพัฒนากำลังคนอย่างมีคุณภาพและตอบสนองความต้องการกำลังคนของประเทศ  ด้วยกระบวนการพัฒนาทักษะด้วยหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นฐานสมรรถนะ  (Education to Employment) ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ซึ่งเป็นกลไกที่สำคัญสำหรับคนในตลาดแรงงานที่จะต้องเพิ่มและพัฒนาทักษะเพื่อให้มี “ทักษะใหม่” หรือ “ทักษะที่หลากหลาย” บนความเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้า  โดยเฉพาะทักษะด้านเทคโนโลยีและดิจิทัล ซึ่งแรงงานจะต้องสามารถทำงานร่วมกับหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติให้ได้ในอนาคต

References

ไทยพับลิก้า. “Lifelong Learning สร้างทักษะรับ Digital Future (ตอน 1): กำหนดเส้นทางอาชีพ”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://thaipublica.org/2018/05/lifelong-learning-digital-disruption-reskill/ , 2562.
ดร. เสาวณี จันทะพงษ์ ฝ่ายเศรษฐกิจมหภาค และ นายกัมพล พรพัฒนไพศาลกุล ฝ่ายนโยบายโครงสร้างเศรษฐกิจประจำธนาคารแห่งประเทศไทย. “การยกระดับทักษะแรงงานไทย: โจทย์ใหญ่ในยุคเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.bot.or.th, 20 กุมภาพันธ์ 2562.
Thanisara GG Ruangdej. สกิลที่ต้องอัพสำหรับยุคนี้ และวิธีแก้ปัญหา ‘เรียนมาไม่เห็นใช้ได้เลย’. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก https://thematter.co/science-tech/future-skills-2/72461, 9 มีนาคม2019
Praornpit Katchwattana. ระดมสมองยกระดับ ‘ทักษะแรงงานไทย’ โจทย์ใหญ่ที่ต้องรับมือ ในยุคเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก https://www.salika.co/2019/04/21/reskill-upskill-worker-disrupted-technology/, 21 เมษายน 2562.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับ
ที่ 12 (พ.ศ.2560 -2564). กรุงเทพฯ.2560.
สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. โครงการฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นฐาน
สมรรถนะ Education to Employment : Vocational Boot Camp (E to E). (ออนไลน์). เข้าถึง
ได้จาก http://e2e.vec.go.th/?r=main
Article from ‘World Economic Forum’ “We need a reskilling revolution. Here’s how to make it
happen” (15 Apr 2019 Børge Brende,President, World Economic Forum)
AsianProductivity Organisation (APO) (2018), APO Productivity Databook 2018
Chang, Jae-Hee; Huynh, Phu (2016), ASEAN in transformation : the future of jobs at risk of
automation, International Labour Office (ILO), Bureau for Employers’
Activities (ACT/EMP) Working Paper No. 9, ILO Regional Office for Asia and the
Pacific. –Geneva : ILO
Davies, Beth, Connor Diemand-Yauman, and Nick van Dam (2019), Competitive
advantage with a human dimension: From lifelong learning to lifelong
employability, Mckinsey Quarterly, February
Hallward-Driemeier, Mary, and Gaurav Nayyar (2018), Trouble in the Making? The Future of
Manufacturing-Led Development, Washington, DC: World Bank.
OECD (2018), Transformative Technologies and Jobs of the Future, Background
Report for the Canadian G7 Innovation Ministers’ Meeting, Montreal, Canada, 27-28
March 2018

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-04-30