ภาพลักษณ์ธนาคารที่มีผลต่อการรับรู้คุณภาพบริการของลูกค้าธนาคารกรุงไทย สาขาสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยภาพลักษณ์ธนาคารที่มีต่อการรับรู้คุณภาพการบริการ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์ถดถอดพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพเป็นข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่ำกว่า 10,000 บาท ส่วนความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยภาพลักษณ์ธนาคารและปัจจัยการรับรู้คุณภาพการให้บริการอยู่ในระดับมากที่สุด และผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยด้านภาพลักษณ์ของธนาคาร ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการขับเคลื่อนความสัมพันธ์ ด้านการขับเคลื่อนทางสังคม ด้านคำแนะนำ ด้านการติดต่อลูกค้า และด้านตำแหน่งในตลาด ส่งผลต่อปัจจัยการรับรู้คุณภาพการให้บริการ ของลูกค้าธนาคารกรุงไทย สาขาสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี สามารถพยากรณ์การรับรู้คุณภาพการให้บริการ ได้ร้อยละ 63.30
Article Details
References
ชัชฎาภรณ์ เดชาเสถียร. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ KTB Netbank ในเขตกรุงเทพมหานคร (ค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, กรุงเทพฯ.
โชติกา ชาวน้ำ. (2552). เปรียบเทียบภาพลักษณ์โรงพยาบาลและการรับรู้คุณภาพการให้บริการของแผนกายภาพบำบัดโรงพยาบาลรัฐบาลและโรงพยาบาลเอกชนในกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.
ญรัญรัตน์ มณฑีรรัตน์, และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2558). การรับรู้ภาพลักษณ์ธนาคารที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีต่อการใช้บริการผ่านคุณภาพการให้บริการของลูกค้าธนาคารกรุงศรีอยุธยาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. Veridian E-Journal, Slipakorn University, 8(2), 877-892.
ณัฐพล ชวนสมสุข. (2553). ภาพลักษณ์ของธุรกิจธนาคารที่มีผลต่อการรับรู้คุณภาพบริการของลูกค้าธนาคาร (ค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ธนาคารกรุงไทย. (2557). นโยบายการกำกับดูแลกิจการ บมจ. ธนาคารกรุงไทย. สืบค้น 3 มกราคม 2561, จาก http://www.ktb.
co.th/ktb/Download/aboutKTB/MediaFile_35CG_Policy_Th2557.pdf
ธนาคารกรุงไทย. (2560). Statement of Dirction วิสัยทัศน์และพันธกิจ. สืบค้น 3 มกราคม 2561, จาก http://www.ktb.co.th/
about/vision-mission
ธนาคารแห่งประเทศไทย. 2561. สรุปจำนวนรวมสาขาของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบ. สืบค้น 31 กรกฎาคม 2561, จาก http://www2.
bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?reportID=802
บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2553). ระเบียบวิธีการวิจัย : แนวทางปฏิบัติสู่วามสำเร็จ. กรุงเทพฯ: ยูแอนด์ไอ อินเตอร์ มีเดีย.
พิชญา กรรณานุวัฒน์. (2540). การศึกษาภาพลักษณ์ของธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ในทัศนะของพนักงานทั่วประเทศ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, กรุงเทพฯ.
แสงเดือน วนิชดำรงค์ศักดิ์. (2555). การรับรู้ภาพลักษณ์และคุณภาพบริการ กรณีศึกษา ธนาคารเกียรตินาคิน สาขากรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (ค้นคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชงคลธัญญบุรี, ปทุมธานี.
อุไรวรรณ จันท์เจริญวงษ์, ธีร์ธนิกษ์ ศิริโวหาร, และมิ่ง เทพครเมือง. (2555). คุณภาพการให้บริการธนาคารพาณิชย์ ในอำเภvปากเกร็ด จังหวัดนนบุรี. วารสารวไลยอลงกรณ์-ปริทัศน์, 2(1), 73-84.
Bloemer, J., Ruyter, K. de, & Peeters, P. (1998). Investigation drivers of bank loyalty: The complex relationship between image, service quality and satisfaction. International Journal of Bank Marketing, 16(7), 276-286.
Kassim, N. M., & Souiden, N. (2007). Customer retention measurement in the UAE banking sector. Journal of Financial Services Marketing, 11(3), 217-228.
Yamane, T. (1973). Statistic: an introductory analysis (3 rd ed). New York: Harper and Row.