การคัดสรรสายพันธุ์พ้นธรรมชาติ : การคัดสรรและบำรุงพันธุ์สัตว์ในสยาม ช่วงทศวรรษ 2430- 2470

ผู้แต่ง

  • พีรณัฐ เปี่ยมศักดิ์สันติ

บทคัดย่อ

ความรู้ทางด้านสัตศาสตร์เป็นความรู้สำคัญที่ดำรงอยู่กับมนุษยชาติมายาวนาน ดังจะเห็นได้ว่าในสยามเองก็มี ตำราสัตศาสตร์อยู่หลายฉบับ โดยตำราดั่งกล่าวจะบอกถึงลักษณะดีลและร้ายของสัตว์พร้อมกับนามเรียกขาน ทว่า ตำราเหล่านั้นกลับมิด้บอกว่าจะค้นหาหรือพาะพันธุ์สัตว์ลักษณะดีได้อย่างไร จนกระทั่งสยามเปิดความสัมพันธ์ ทางการค้ากับนานาชาติมากขึ้น โดยเฉพาะหลังพุทธศตวรรษที่ 25 ทำให้จำเป็นต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต จึงมีการนำความรู้วิทยาศาสตร์ในหลากหลายด้านมาใช้ในกิจการต่าง 7 รวมถึงการเพาะพันธุ์สัตว์ โดยเฉพาะการนำ สายพันธุ์สัตว์จากต่างประเทศมาผสมกับพันธุ์พื้นถิ่น เพื่อให้ได้สายพันธุ์ที่สมบูรณ์ใหญ่โตขึ้น แข็งแรงขึ้น รวมถึงทนทาน ต่อโรคและสภาพอากาศ 

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-01-01

How to Cite

เปี่ยมศักดิ์สันติ พ. . (2023). การคัดสรรสายพันธุ์พ้นธรรมชาติ : การคัดสรรและบำรุงพันธุ์สัตว์ในสยาม ช่วงทศวรรษ 2430- 2470. วารสารรูสมิแล, 43(3), 45–58. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/rusamelae/article/view/265925