Multilevel Factors Affecting National Educational Test Quality (NT) in Language Ability: A Study of Low Level Score Schools in Phitsanulok

Main Article Content

วรพรรณ ศรีกล่ำ

Abstract

 The purpose of this study was to study multilevel factors (students and classrooms) affecting National Educational Test Quality (NT) in language ability in low level score schools. The samples were 1,260 students and 68 teachers in low level score schools. The data were collected by 2 questionnaires (student and classroom levels); 1) questionnaires in student level comprised 5 variables (background knowledge, achievement motivation on NT testing, attitudes toward studing Thai language, family backgrounds, and parental support, 2) questionnaires in classroom level comprised 2 variables (quality of teaching, classroom environment). Multi - level analysis with HLM program was used.


The result showed that; 1) at the students’ level, background knowledge affected to NT score significantly. 2) At the teachers’ level, no independent variable could explain NT score. Background knowledge could explain variability of NT score with 12.85 percent.

Article Details

Section
Research Article

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551.กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
กอบชัย โพธินาแค. (2546). การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สังกัดกรมสามัญศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จุฬาภรณ์ อมมาลี. (2553). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาระดับชาติวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชาการวัดผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เจษฏาภรณ์ อ้นแก้ว. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์องนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก : การวิเคราะห์ พหุระดับโดยใช้โมเดลระดับลดหลั่น (HLM). วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ชญานิษฐ์ กาญจนดี. (2536). การศึกษาตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 ชายแดนภาคใต้. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดผลและการวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
พิมพ์ประภา อรัญมิตร. (2552). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 3 โดยการวิเคราะห์พหุระดับ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
ยุทธภูมิ ดรเถื่อน. (2550). ปัจจัยสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดชัยภูมิ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2554). การวิเคราะห์พหุระดับ (Multi-Level Analysis) (พิมพ์ครั้งที่ 5).กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สถิรพร เชาวน์ชัย. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อคะแนน O - NET ของนักศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนจ่านกร้อง จังหวัดพิษณุโลก. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สาวิตรี อยู่สุ่ม. (2553). ปัจจัยสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักทดสอบทางการศึกษา. (2556). รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (NT ป.3) ปีการศึกษา 2556. (Online) สืบค้นได้จาก : http//:bet.obec.go.th/2556. [2556, มีนาคม 25].
สุมาลี วาฤทธิ์. (2554). ตัวแปรพหุระดับที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครสรรค์ เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดผล และประเมินการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสรรค์.
Bloom, B. S. (1976). Human Characteristics and School Learning.
New York : McGraw-Hill.