สภาพการพัฒนาการรู้สารสนเทศ สื่อและดิจิทัลสำหรับ นักศึกษาทางไกล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และมหาวิทยาลัยโพลิเทคนิคแห่งประเทศฟิลิปปินส์ ระบบเปิด
คำสำคัญ:
การรู้สารสนเทศ การรู้เท่าทันสื่อ การรู้ดิจิทัล นักศึกษาทางไกล การศึกษาทางไกลบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการพัฒนาการรู้สารสนเทศ สื่อและดิจิทัลสำาหรับนักศึกษา
ทางไกลของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และมหาวิทยาลัยโพลิเทคนิคแห่งประเทศฟิลิปปินส์ระบบเปิด การ
วิจัยนี้เป็นการวิจัยเอกสารและการวิจัยเชิงคุณภาพ แหล่งข้อมูลหลักเลือกแบบเจาะจงประกอบด้วย เอกสาร
และผู้บริหาร อาจารย์และบรรณารักษ์ มสธ. จำานวน 25 คน นักศึกษา มสธ. 30 คน อาจารย์และบรรณารักษ์
มหาวิทยาลัยโพลิเทคนิคแห่งประเทศฟิลิปปินส์ระบบเปิด 10 คน นักศึกษา 10 คน เครื่องมือการวิจัยประกอบ
ด้วย แบบบันทึก แบบสัมภาษณ์ และแบบสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้การวิเคราะห์
และสังเคราะห์ เนื้อหา และสรุปความ
ผลการวิจัยพบว่า 1) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชและมหาวิทยาลัยโพลิเทคนิคแห่งประเทศ
ฟิลิปปินส์ระบบเปิดมีความเหมือนและความแตกต่างกันในการพัฒนาการรู้สารสนเทศ สื่อและดิจิทัลสำาหรับ
นักศึกษาทางไกล พิจารณาในด้านนโยบาย ด้านการบริหาร ด้านการจัดการเรียนการสอนทางไกล และด้าน
การบริการและกิจกรรมห้องสมุดและอื่น ๆ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาการรู้สารสนเทศ สื่อและดิจิทัลสำาหรับ
นักศึกษาทางไกลในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ใหม่ที่มุ่งสู่การเรียนการสอนออนไลน์ แต่ไม่เป็นการพัฒนาทักษะ
อย่างเป็นองค์รวม และ 2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการรู้สารสนเทศ สื่อและดิจิทัลสำาหรับนักศึกษาทาง
ไกลครอบคลุมทั้งปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน
References
Association of College & Research Libraries. (2016). Framework for information literacy for higher education. Retrieved from https://www.ala.org/acrl/standards/ilframework
Association of Southeast Asian Nations. (2015). The ASEAN ICT Masterplan 2020. https://www.asean. org/storage/images/2015/November/ICT/15b%20--
Association of Southeast Asian Nations. The ASEAN Secretariat. (2019). ASEAN Communication Master Plan 2018-2025. Retrieved from https://asean.org/storage/2019/02/ASEAN- CommunicationMaster-Plan-2018-2025.pdf
Educational Technology and Mobile Learning. (2018). The road to digital literacy. Retrieved from https://www.educatorstechnology.com/2013/02/a-must-haveposter-on-digital-literacy.html
Horton, F. W. (2014). Overview of information literacy resources worldwide. (2nded.). Paris: UNESCO. Retrieved from www.infolitglobal.info
IFLA (2014). IFLA media and information literacy recommendations. Retrieved from https://www.ifla.org/ publications/ifla-media-and-information-literacy-recommendations
Mnkeni-Saurombe, N. (2015). Information literacy: A cornerstone for open distance learning at the University of South Africa. Journal of Librarianship and Information Science, 47(2), 156-165.
Ozdamar-Keskin, N.; Ozata, F. Z.; Banar, K.; Royle, K. (2015). Examining digital literacy competences and learning habits of open and distance learners. Contemporary Educational Technology, 6(1), 74-90.
PUP Open University System (PUP OUS). (2017). Open University system. Retrieved from https:// www.pup.edu.ph/ous/
Reedy, K., & Goodfellow , R. (2012). Digital and Information Literacy Framework. The Open University. Retrieved from https://www.open.ac.uk/libraryservices/pages/dilframework/dilframework_view_all.pdf
Sabio, R. A., & Sabio, C. J. (2013), Current challenges and prospects facing distance education in the Philippines. Asian Journal of Distance Education in the Philippines, 11(1), 59-77.
Sacchanand, C. (2017). Development of ASEAN information literacy network. Nonthaburi: Sukhotahi Thammathirat Open University. (Funded by STOU). (inThai)
Sacchanand, C. (2018, August 18). Collaboration and networking for open library and open education.In Wipanwin, N., & Smith, T. J. Eds. The 1st international conference on library and informationscience : From library open to open society. iCOO2018, pp.17-25. Nonthaburi: Sukhotahi Thammathirat open University.
Sukhothai Thammathirat Open University. (2012). Desirable characteristics of STOU graduates. Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University. (in Thai).
Sukhothai Thammathirat Open University. (2015). ICT Master Plan, Sukhothai Thammathirat Open University, 2013-2018 (Revised edition). Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University. (in Thai). https://www.sesa17.go.th/site/images/Publish2.pdf
Tang, C. M., & Chaw, L Y. (2016). Digital literacy: A prerequisite for effective learning in a blended learning environment?. Electronic Journal of Elearning, 14(1),54-65. http:ejel.org
The Partnership for 21st Century Skills. (2011). P21 framework for 21st century learning. Retrieved from https://www.p21.org/about-us/p21-framework
Thomas, S. (2015). The value in building networks. https://www.collaborationforimpact.com/the-valueinbuilding-networks/
UNESCO. Communication& Information Sector. (2013). Media and information literacy. Retrieved from https://www.unesco.org/new/fileadmin/MULTIMEDIA/HQ/CI/CI/images/Publication_covers/global_mil_chap_1.jpg
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
ห้ามนำข้อความทั้งหมด หรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสาร