รวมบทประยุกต์การใช้สถิติทดสอบไคสแควร์กับงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ Chi-square Test Application in Social Science Research
Main Article Content
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดและการประยุกต์ใช้สถิติทดสอบไคสแควร์กับงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยมีการนำเสนอในรูปแบบของการคำนวณค่าสถิติทดสอบด้วยการคำนวณมือและการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS รวมถึงเสนอตัวอย่างการรายงานและการแปลผลข้อมูลงานวิจัยอย่างครอบคลุมและครบถ้วนใน 6 กรณีได้แก่ 1) กรณีตัวอย่าง 1 กลุ่ม 2) กรณีตัวอย่าง 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน 3) กรณีตัวอย่าง 2 กลุ่มพึ่งพิงกัน 4) กรณีตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มเป็นอิสระกัน 5) กรณีตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มพึ่งพิงกัน และ 6) การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร บทความนี้จะช่วยให้ผู้อ่านที่สนใจได้เข้าใจ เห็นแนวทางในการนำสถิติทดสอบไคสแควร์ไปใช้และสามารถนำสถิติทดสอบไคสแควร์ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานวิจัยได้อย่างเหมาะสม
This article aimed to present the concept of Chi-square test statistic and its application in social science research. It was presented in forms of hand calculation and using SPSS program to analyze data including providing comprehensive and complete examples of how to report and interpret research data in 6 cases which are 1) one sample case 2) two independent samples case 3) two related samples case 4) more than two independent samples case 5) more than two related samples case and 6) the test of association. This article will help the readers who are interested to see the guidelines of using Chi-square test statistic and its application and to be able to use, properly.
Article Details
References
บงกช นักเสียง. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับรูปแบบการแก้ปัญหาความขัดแย้งของนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 23(42): 99-120.
สุชาดา บวรกิติวงศ์. (2548). สถิติประยุกต์ทางพฤติกรรมศาสตร์. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุชาดา บวรกิติวงศ์ และสิวะโชติ ศรีสุทธิยากร. (2560). ความแกร่งของสถิติทดสอบไคสแควร์. วารสารครุศาสตร์, 44(3): 212-220.
สรยุทธ จิโรภาส. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการทะเลาะวิวาทของนักศึกษาในจังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ สศ.ม. (สังคมวิทยา). กรุงเทพฯ: บัณทิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Franke, T.M., Ho, T. and Christie, C.A. (2012). The chi-square test: often used and more often misinterpreted. American Journal of Evaluation, 33(3): 448-458.
Onchiri, S. (2013). Conceptual model on application of chi-square test in education and social sciences. Educational Research and Reviews, 8(15): 1231-1241.
Rana, R. and Singhal, R. (2015). Chi-square test and its application in hypothesis testing. Journal of the Practice of Cardiovascular Sciences, 1(1): 69-71.